อะคาร์โบส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อะคาร์โบส
Haworth projection of acarbose
Ball-and-stick model of the acarbose molecule
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้ากลูโคบาย, พรีโคส, พรันเดส
ชื่ออื่น(2R,3R,4R,5S,6R)-5-{[(2R,3R,4R,5S,6R)-5- {[(2R,3R,4S,5S,6R)-3,4-dihydroxy-6-methyl- 5-{[(1S,4R,5S,6S)-4,5,6-trihydroxy-3- (hydroxymethyl)cyclohex-2-en-1-yl]amino} tetrahydro-2H-pyran-2-yl]oxy}-3,4-dihydroxy- 6-(hydroxymethyl)tetrahydro-2H-pyran-2-yl]oxy}- 6-(hydroxymethyl)tetrahydro-2H-pyran-2,3,4-triol
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa696015
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B3
  • US: B (ไม่มีความเสี่ยงในสัตว์)
ช่องทางการรับยาทางปาก (ยาเม็ด)
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลต่ำมาก
การเปลี่ยนแปลงยาทางเดินอาหาร
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ2 ชั่วโมง
การขับออกไต (น้อยกว่าร้อยละ 2)
ตัวบ่งชี้
  • O-4,6-Dideoxy-4-[[(1S,4R,5S,6S)-4,5,6-trihydroxy-3-(hydroxymethyl)-2-cyclohexen-1-yl]amino]-α-D-glucopyranosyl-(1→4)-O-α-D-glucopyranosyl-(1→4)-D-glucopyranose
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEMBL
ECHA InfoCard100.054.555
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC25H43NO18
มวลต่อโมล645.608 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O([C@H]1[C@H](O)[C@@H](O)[C@H](O)O[C@@H]1CO)[C@H]4O[C@@H]([C@@H](O[C@H]3O[C@H](C)[C@@H](N[C@H]2/C=C(/CO)[C@@H](O)[C@H](O)[C@H]2O)[C@H](O)[C@H]3O)[C@H](O)[C@H]4O)CO
  • InChI=1S/C25H43NO18/c1-6-11(26-8-2-7(3-27)12(30)15(33)13(8)31)14(32)19(37)24(40-6)43-22-10(5-29)42-25(20(38)17(22)35)44-21-9(4-28)41-23(39)18(36)16(21)34/h2,6,8-39H,3-5H2,1H3/t6-,8+,9-,10-,11-,12-,13+,14+,15+,16-,17-,18-,19-,20-,21-,22-,23-,24-,25-/m1/s1 checkY
  • Key:XUFXOAAUWZOOIT-SXARVLRPSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

อะคาร์โบส (INN)[1] เป็นยาต้านเบาหวานที่ถูกใช้เพื่อรักษาเบาหวานชนิดที่ 2และใช้รักษาเบาหวานขั้นต้นในบางประเทศ ยานี้ขายในยุโรปและจีนในชื่อ กลูโคบาย (ไบเออร์ เอจี) ในอเมริกาเหนือ ขายในชื่อ พรีโคส (เภสัชกรรมไบเออร์) และในแคนาดา ขายในชื่อ พรันเดส (ไบเออร์ เอจี) แม้ว่ายาจะขายถูกและได้รับความนิยมในประเทศจีน แต่ในสหรัฐ แพทย์กล่าวว่ายานี้มีจำกัดเพราะมันไม่เพียงพอต่อการบ่งชี้อาการข้างเคียงของท้องเสียและท้องอืด[2] อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งที่ผ่านมากล่าวว่า "อะคาร์โบสมีประสิทธิผล ปลอดภัย และใช้ได้กับผู้ป่วยชาวเอเชียที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2"[3] เหตุผลที่รองรับคำอธิบายนี้มาจากข้อสังเกตที่ว่าอะคาร์โบสจะให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่ากับผู้ป่วยที่รับประทานอาหารตะวันออกที่มีคาร์โบไฮเดรตค่อนข้างสูง[4]

อะคาร์โบสเป็นยาที่กันแป้ง และยับยั้งอัลฟากลูโคซิเดส ซึ่งเป็นเอนไซม์ในลำไส้เล็กที่ให้กลูโคสจากการย่อยคาร์โบไฮเดรตขนาดใหญ่ ยานี้ประกอบด้วยอะคาร์วีโอซินครึ่งหนึ่ง และมีมอลโทสอยู่ที่ปลายรีดิวซ์

อ้างอิง[แก้]

  1. "International Nonproprietary Names for Pharmaceutical Substances. Recommended International Nonproprietary Names (Rec. INN): List 19" (PDF). World Health Organization. 1979. สืบค้นเมื่อ 9 November 2016.
  2. Kresge N (21 November 2011). "China's Thirst for New Diabetes Drugs Threatens Bayer's Lead". Bloomberg Business Week. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2011. สืบค้นเมื่อ 15 April 2016.
  3. Zhang W, Kim D, Philip E, Miyan Z, Barykina I, Schmidt B, Stein H (April 2013). "A multinational, observational study to investigate the efficacy, safety and tolerability of acarbose as add-on or monotherapy in a range of patients: the Gluco VIP study". Clinical Drug Investigation. 33 (4): 263–74. doi:10.1007/s40261-013-0063-3. PMID 23435929. S2CID 207483590.
  4. Zhu Q, Tong Y, Wu T, Li J, Tong N (June 2013). "Comparison of the hypoglycemic effect of acarbose monotherapy in patients with type 2 diabetes mellitus consuming an Eastern or Western diet: a systematic meta-analysis". Clinical Therapeutics. 35 (6): 880–99. doi:10.1016/j.clinthera.2013.03.020. PMID 23602502.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]