สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และอัลการ์วึ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และอัลการ์วึ

Reino Unido de Portugal, Brasil e Algarves
พ.ศ. 2358พ.ศ. 2365/2368
ธงชาติโปรตุเกส บราซิล และอัลการ์วึ
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของโปรตุเกส บราซิล และอัลการ์วึ
ตราแผ่นดิน
สถานะสหราชอาณาจักร
เมืองหลวงรีโอเดจาเนโร(2358–2364)
ลิสบอน(2364–2368)
ภาษาทั่วไปโปรตุเกสและภาษาอื่นๆ
ศาสนา
โรมันคาทอลิก
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์(2358–2363)
ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ(2363–2366)
สมบูรณาญาสิทธิราชย์(2366–2368)
พระเจ้าแผ่นดิน 
สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 1
พระเจ้าโจเอาที่ 6
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
พ.ศ. 2358
• ยุบเลิกสหราชอาณาจักร
พ.ศ. 2365/2368
สกุลเงินริอาลโปรตุเกส
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชอาณาจักรโปรตุเกส
รัฐบราซิล
ประวัติศาสตร์โปรตุเกส (ค.ศ. 1777–1834)
จักรวรรดิบราซิล

สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และอัลการ์วึ (United Kingdom of Portugal, Brazil and the Algarves) เป็นราชาธิปไตยแบบพหุทวีป (pluricontinental) ได้สถาปนาขึ้นโดยการยกระดับอาณานิคมของโปรตุเกสคือ รัฐบราซิล ให้เป็นราชอาณาจักรและโดยสหภาพร่วมกันของราชอาณาจักรบราซิลและราชอาณาจักรโปรตุเกสและราชอาณาจักรแอลการ์ฟเป็นการสถาปนารัฐเดี่ยวที่รวมสามราชอาณาจักรเข้าด้วยกัน

สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟได้มีการสถาปนาขึ้นในปีพ.ศ. 2358 จากการย้ายราชสำนักโปรตุเกสไปที่บราซิลและยังคงมีอยู่ประมาณหนึ่งปีหลังจากการเสด็จกลับของราชสำนักไปยังยุโรป ได้ถูกยุบโดยพฤตินัยในปีพ.ศ. 2365 เมื่อบราซิลประกาศอิสรภาพ การยุบสหราชอาณาจักรได้รับการยอมรับจากโปรตุเกสและโดยนิตินัยอย่างเป็นทางการในปีพ.ศ. 2368 เมื่อโปรตุเกสยอมรับเอกราชของจักรวรรดิบราซิล

ในช่วงระยะเวลาการดำรงอยู่ของสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟนั้นไม่สอดคล้องกับทั้งหมดของจักรวรรดิโปรตุเกส สหราชอาณาจักรค่อนข้างเป็นมหานครข้ามมหาสมุทรที่ซึ่งควบคุมจักรวรรดิอาณานิคมของโปรตุเกส ด้วยการครอบครองโพ้นทะเลในแอฟริกาและเอเชีย

ดังนั้นจากมุมมองของบราซิล การยกระดับสถานะขึ้นเป็นราชอาณาจักรและการสถาปนาสหราชอาณาจักรแสดงการเปลี่ยนสถานะจากอาณานิคมมาเป็นสมาชิกที่เท่าเทียมแห่งสหภาพทางการเมือง ในจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติเสรีนิยม พ.ศ. 2363ในโปรตุเกส ได้มีความพยายามประนีประนอมในการปกครองตนเองและแม้แต่ของเป็นเอกภาพของบราซิลนำมาสู่การสิ้นสุดลงของสหราชอาณาจักรนี้

อ้างอิง[แก้]