ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงแชลเลนเจอร์คัพ 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงแชลเลนเจอร์คัพ 2018
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศเปรู เปรู
เมืองLima
วันที่20–24 มิถุนายน
ทีม6
ชนะเลิศธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย (สมัยที่ 1st)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
FIVB Challenger Cup
ครั้งแรก

วอลเลย์บอลหญิงแชลเลนเจอร์คัพ 2018 (อังกฤษ: 2018 FIVB Volleyball Women's Challenger Cup) เป็นการแข่งขันครั้งแรกของวอลเลย์บอลหญิงแชลเลนเจอร์คัพ และเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงระหว่างประเทศ จำนวน 6 ทีม ซึ่งการแข่งขันนี้จะทำหน้าที่เป็นการคัดเลือกทีมเข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก[1] การแข่งขันกำหนดจัดขึ้นที่ลิมา, ประเทศเปรู ระหว่างวันที่ 20–24 มิถุนายน ค.ศ. 2018[2]

การคัดเลือก

[แก้]

มีหกทีมจะแข่งขันในการแข่งขันนี้

วิธีการคัดเลือก วันที่ สนาม จำนวน ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
เจ้าภาพ มิถุนายน 2018 สวิตเซอร์แลนด์ โลซาน 1 ธงชาติเปรู เปรู
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ 17–20 พฤษภาคม 2018 แคนาดา เอ็ดมันตัน 1 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
รอบคัดเลือกโซนเอเชีย 18–20 พฤษภาคม 2018 คาซัคสถาน อัลมาเตอ 1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ 25–27 พฤษภาคม 2018 เปรู ลิมา 1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
โกลเดนยูโรเปียนลีก 19 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน 2018 ฮังการี บูดาเปสต์ 2 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงชาติฮังการี ฮังการี
รวม 6

รอบคัดเลือก

[แก้]

โซนอเมริกาเหนือ

[แก้]

การแข่งขันรอบคัดเลือกอเมริกาเหนือจัดขึ้นที่เอ็ดมันตัน ประเทศแคนาดา ซึ่งมีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 5 ทีม โดยทีมชาติคอสตาริกาได้ถอนทีมออกจากการคัดเลือก[3]

กลุ่ม A

[แก้]
แข่ง แต้ม แต้ม เซต
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 1 0 5 75 50 1.500 3 0 MAX
2 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 0 1 0 50 75 0.667 0 3 0.000
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
17 เม.ย. 19:00 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 3–0 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 25–12 25–16 25–22     75–50 P2 P3

กลุ่ม B

[แก้]
แข่ง แต้ม แต้ม เซต
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 2 0 10 150 103 1.456 6 0 MAX
2 ธงชาติคิวบา คิวบา 1 1 5 137 107 1.280 3 3 1.000
3 ธงชาตินิการากัว นิการากัว 0 2 0 73 150 0.487 0 6 0.000
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
17 เม.ย. 16:30 ปวยร์โตรีโก ธงชาติปวยร์โตรีโก 3–0 ธงชาตินิการากัว นิการากัว 25–15 25–15 25–11     75–41 P2 P3
18 เม.ย. 16:00 นิการากัว ธงชาตินิการากัว 0–3 ธงชาติคิวบา คิวบา 12–25 10–25 10–25     32–75 P2 P3
19 เม.ย. 16:00 คิวบา ธงชาติคิวบา 0–3 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 23–25 22–25 17–25     62–75 P2 P3

รอบชิงอันดับที่ 3

[แก้]
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
20 เม.ย. 16:00 ตรินิแดดและโตเบโก ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก 0–3 ธงชาติคิวบา คิวบา 18–25 17–25 13–25     48–75 P2 P3

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
20 เม.ย. 19:00 แคนาดา ธงชาติแคนาดา 2–3 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 25–22 17–25 19–25 27–25 8–15 96–112 P2 P2

โซนเอเชีย

[แก้]

การแข่งขันรอบคัดเลือกโซนเอเชียจัดขึ้นที่อัลมาเตอ ประเทศคาซัคสถาน ซึ่งมีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 3 ทีม ทีมที่ชนะเลิศคือทีมชาติคาซัคสถาน แต่เมื่อวันที่ 12 มิถุนายนทางสหพันธ์วอลเลย์บอลสาธารณรัฐคาซัคสถานได้ประกาศว่าทีมชาติคาซัคสถานหญิงไม่สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้เนื่องจากมีปัญหาเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่าไปยังประเทศเปรู[4] ทีมชาติออสเตรเลียจึงได้เข้าแข่งขันแทนทีมชาติคาซัคสถาน[5]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 2 0 6 6 1 6.000 174 117 1.487
2 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1 1 3 4 3 1.333 150 157 0.955
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0 2 0 0 6 0.000 100 150 0.667
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
18 เม.ย. 14:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–3 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 17–25 20–25 21–25     58–75 รายงาน
19 เม.ย. 14:00 คาซัคสถาน ธงชาติคาซัคสถาน 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–12 25–17 25–13     75–42 รายงาน
20 เม.ย. 14:00 คาซัคสถาน ธงชาติคาซัคสถาน 3–1 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 24–26 25–18 25–17 25–14   99–75 รายงาน

โซนอเมริกาใต้

[แก้]

การแข่งขันรอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้จัดขึ้นที่ลิมา ประเทศเปรู ซึ่งมีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม[6] ตามกฎผู้ชนะในการแข่งขันจะต้องแข่งเพลย์ออฟกับตัวแทนของโซนแอฟริกา แต่เนื่องจากโซนแอฟริกาปฏิเสธที่จะเข้าร่วมการแข่งขันรอบคัดเลือกจึงทำให้โซนอเมริกาใต้ไม่ต้องแข่งขันเพลย์ออฟกับตัวแทนของโซนแอฟริกา ทีมที่ชนะเลิศคือทีมชาติเปรู ซึ่งเปรูได้รับการกำหนดให้เป็นเจ้าภาพแข่งขันทำให้ทีมชาติโคลอมเบียอันดับที่สองในรอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ผ่านการคัดเลือกแทน[7]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติเปรู เปรู 3 0 9 9 1 9.000 249 167 1.491
2 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 2 1 6 7 3 2.333 223 175 1.274
3 ธงชาติชิลี ชิลี 1 2 3 3 6 0.500 159 201 0.791
4 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 0 3 0 0 9 0.000 137 225 0.609
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
25 เม.ย. 17:00 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย 3–0 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–10 25–12 25–17     75–39  
25 เม.ย. 19:00 เปรู ธงชาติเปรู 3–0 ธงชาติชิลี ชิลี 25–15 25–19 25–13     75–47  
26 เม.ย. 17:00 ชิลี ธงชาติชิลี 0–3 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 12–25 10–25 15–25     37–75  
26 เม.ย. 19:00 เปรู ธงชาติเปรู 3–0 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–16 25–12 25–19     75–47  
27 เม.ย. 16:00 เวเนซุเอลา ธงชาติเวเนซุเอลา 0–3 ธงชาติชิลี ชิลี 16–25 21–25 14–25     51–75  
27 เม.ย. 18:00 เปรู ธงชาติเปรู 3–1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 24–26 25–13 25–12 25–22   99–73  

รอบแรก

[แก้]
  • สนาม: เปรู Coliseo Manuel Bonilla, ลิมา, เปรู
  • เวลาการแข่งขันในท้องถิ่น UTC-05:00 (ช้ากว่าไทย 12 ชั่วโมง)
ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย

กลุ่ม A

[แก้]
แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 2 0 6 6 0 MAX 151 87 1.736
2 ธงชาติเปรู เปรู 1 1 3 3 3 1.000 126 127 0.992
3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 0 2 0 0 6 0.000 90 153 0.588
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
20 มิ.ย. 19:00 เปรู ธงชาติเปรู 0–3 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 24–26 12–25 12–25     48–76 P2
21 มิ.ย. 19:00 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย 3–0 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–13 25–19 25–7     75–39  
22 มิ.ย. 19:00 คาซัคสถาน ธงชาติคาซัคสถาน 0–3 ธงชาติเปรู เปรู 14–25 11–25 26–28     51–78  

กลุ่ม B

[แก้]
แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 2 0 6 6 0 MAX 150 92 1.630
2 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 1 1 3 3 3 1.000 125 119 1.050
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0 2 0 0 6 0.000 86 150 0.573
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
20 มิ.ย. 17:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–3 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 11–25 16–25 15–25     42–75  
21 มิ.ย. 17:00 ปวยร์โตรีโก ธงชาติปวยร์โตรีโก 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–10 25–19 25–15     75–44  
22 มิ.ย. 17:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 3–0 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 25–18 25–18 25–14     75–50  

รอบสุดท้าย

[แก้]
  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
23 มิถุนายน
 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  3  
 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก  1  
 
24 มิถุนายน
     ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย   1
   ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย  3
รอบชิงอันดับที่ 3
23 มิถุนายน 24 มิถุนายน
 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย   3  ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก  3
 ธงชาติเปรู เปรู  0    ธงชาติเปรู เปรู  2

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 มิ.ย. 16:00 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย 3–1 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 23–25 27–25 25–10 25–18   100–78  
23 มิ.ย. 18:00 บัลแกเรีย ธงชาติบัลแกเรีย 3–0 ธงชาติเปรู เปรู 25–21 25–22 25–18     75–61  

รอบชิงอันดับที่ 3

[แก้]
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
24 มิ.ย. 17:00 ปวยร์โตรีโก ธงชาติปวยร์โตรีโก 3–2 ธงชาติเปรู เปรู 22–25 25–15 21–25 25–17 16–14 109–96  

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
24 มิ.ย. 19:00 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย 1–3 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 25–22 19–25 20–25 23–25   87–97  

อันดับการแข่งขัน

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "FIVB Executive Committee embraces digital transformation". FIVB.org. 7 December 2016. สืบค้นเมื่อ 12 December 2016.
  2. "ALL SET FOR FINAL SIX AS WOMEN'S VNL POOL PLAY CONCLUDES". FIVB. 15 June 2018. สืบค้นเมื่อ 17 June 2018.
  3. "FIVB Volleyball Challenger Cup Qualification" (ภาษาอังกฤษ). NORCECA. 19 May 2018.
  4. "Национальная женская сборная вынуждена отказаться от участия Кубке Вызова" (ภาษาคาซัค). VFRK. 12 June 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-18. สืบค้นเมื่อ 2018-06-18.
  5. "VOLLEYROOS WOMEN GET LATE SECOND CHANCE". Volleyball Australia. 14 June 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-11. สืบค้นเมื่อ 14 June 2018.
  6. "Resultados" (ภาษาสเปน). CSV. 27 May 2018.
  7. "CLASIFICATORIO SUDAMERICANO FEMENINO A LA CHALLENGER CUP FASE ÚNICA" (ภาษาสเปน). CSV. สืบค้นเมื่อ 16 June 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]