วอลเลย์บอลชายซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา
Supercoppa italiana
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1996
ประเทศ อิตาลี
ทวีปสหภาพยุโรป ยุโรป
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอีตัส เตรนตีโน
ทีมชนะเลิศสูงสุดซิสเลย์เตรวีโซ (7 สมัย)
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

วอลเลย์บอลชายซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา (อิตาลี: Supercoppa italiana) หรือ อิตาเลียนซูเปอร์คัพ (อังกฤษ: Italian Super Cup) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลประจำปีของสโมสรวอลเลย์บอลในประเทศอิตาลี การแข่งขันอยู่ภายใต้การดูแลของเลกาปัลลาโวโลเซเรียอา (Lega Pallavolo Serie A) ร่วมกับสหพันธ์วอลเลย์บอลอิตาลี (Federazione Italiana Pallavolo, FIPAV) โดยเป็นการพบกันระหว่างทีมชนะเลิศซูแปร์เลกากับทีมชนะเลิศโกปปาอีตาเลีย ซึ่งจะทำการแข่งขันเพียงนัดเดียว ในกรณีที่ทีมชนะเลิศทั้งสองรายการเป็นทีมเดียวกัน ทีมรองชนะเลิศซูแปร์เลกาจะได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันแทน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016 มีสี่ทีมที่เข้าร่วมแข่งขันซึ่งมาจากสี่อันดับแรกจากซูแปร์เลกาฤดูกาลก่อนหน้า[1]

ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนาจัดการแข่งขันขึ้นครั้งแรกใน ค.ศ. 1996 สโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดคือซิสเลย์เตรวีโซ ซึ่งชนะเลิศ 7 สมัย[2]

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ[แก้]

ฤดูกาล ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ
1996 อัลปีตูร์ ตราโก กูนีโอ 3–1
(15–12, 15–7, 11–15, 15–11)
ซิสเลย์ เตรวีโซ
1997 กาซา โมเดนา อูนีบอน 3–1
(7–15, 15–11, 15–8, 15–13)
อัลปีตูร์ ตราโก กูนีโอ
1998 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–0
(15–6, 15–12, 15–12)
กาซา โมเดนา อูนีบอน
1999 ทีเอ็นที อัลปีตูร์ กูนีโอ 3–1
(21–25, 19–25, 25–23, 19–25)
ซิสเลย์ เตรวีโซ
2000 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–0
(25–22, 25–20, 25–20)
ฟอร์ด แปร์ อิล บัมบีโน เจซุ โรมา
2001 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–0
(28–26, 25–23, 25–22)
ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา
2002 โนอีกอม เบร บันกา กูนีโอ 3–0
(25–18, 25–20, 25–15)
เมตา เดย์โตนา โมเดนา
2003 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–1
(25–18, 19–25, 25–11, 25–21)
ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา
2004 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–0
(25–19, 27–25, 25–15)
เบร บันกา ลันนุตตี กูนีโอ
2005 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–0
(25–17, 25–23, 27–25)
ตอนโน กัลลีโป วีโบวาเลนเตีย
2006 ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา 3–1
(18–25, 25–21, 25–18, 25–21)
เบร บันกา ลันนุตตี กูนีโอ
2007 ซิสเลย์ เตรวีโซ 3–0
(25–19, 25–19, 25–21)
เอมเม. โรมาวอลเลย์
2008 ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา 3–0
(36–34, 25–19, 25–19)
อีตัส ดีอาเตก เตรนตีโน
2009 กอปรัตลันดีเดปีอาเชนซา 3–2
(25–19, 24–26, 20–25, 25–20, 20–18)
ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา
2010 เบร บันกา ลันนุตตี กูนีโอ 3–0
(25–20, 25–23, 25–22)
อีตัส ดีอาเตก เตรนตีโน
2011 อีตัส ดีอาเตก เตรนตีโน 3–1
(25–22, 25–20, 18–25, 25–20)
เบร บันกา ลันนุตตี กูนีโอ
2012 กูชีเน ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา 3–2
(25–23, 19–25, 28–26, 20–25, 15–11)
อีตัส ดีอาเตก เตรนตีโน
2013 ดีอาเตก เตรนตีโน 3–0
(25–23, 25–23, 25–21)
กูชีเน ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา
2014 กูชีเน ลูเบ บันกา มาร์เก มาเชราตา 3–2
(25–23, 25–15, 26–24, 20–25, 18–25, 15–12)
กอปรา ปีอาเชนซา
2015 ดีเอชแอล โมเดนา 3–2
(37–35, 23–25, 23–25, 25–23, 11–15)
ดีอาเตก เตรนตีโน
2016 อาซีมุต โมเดนา 3–2
(25–22, 19–25, 25–22, 24–26, 17–15)
ซีร์ซาฟาตี โกนัด เปรูจา
2017 ซีร์ซาฟาตี โกนัด เปรูจา 3–1
(20–25, 25–22, 17–25, 26–28)
กูชีเน ลูเบ ชีวีตาโนวา
2018 อาซีมุต ลีโอ ชูส โมเดนา 3–2
(25–23, 25–19, 16–25, 18–25, 15–8)
อีตัส เตรนตีโน
2019 ซีร์ซาฟาตี โกนัด เปรูจา 3–2
(27–25, 23–25, 25–23, 18–25, 15–12)
ลีโอ ชูส โมเดนา
2020 ซีร์ซาฟาตี โกนัด เปรูจา 3–2
(25–22, 23–25, 19–25, 25–19, 14–16)
กูชีเน ลูเบ ชีวีตาโนวา
2021 อีตัส เตรนตีโน 3–1
(25–11, 25–21, 31–33, 25–14)
เวโร วอลเลย์ มอนซา
2022 ซีร์ซาเฟตี ซูซา เปรูจา 3–2
(25–20, 22–25, 25–23, 22–25, 8–15)
กูชีเน ลูเบ ชีวีตาโนวา

ผู้ชนะเลิศแบ่งตามสโมสร[แก้]

สโมสร จำนวน ปีที่ชนะเลิศ
ซิสเลย์เตรวีโซ 7 1998, 2000, 2001, 2003, 2004, 2005, 2007
กูชีเน ลูเบ ชีวีตาโนวา 4 2006, 2008, 2012, 2014
ปีเยมอนเตวอลเลย์ 4 1996, 1999, 2002, 2010
โมเดนาวอลเลย์ 4 1997, 2015, 2016, 2018
อีตัส เตรนตีโน 3 2011, 2013, 2021
ซีร์ซาฟาตี โกนัด เปรูจา 3 2017, 2019, 2020
วอลเลย์ปีอาเชนซา 1 2009

อ้างอิง[แก้]

  1. "Superlega Serie A: le novità della stagione 2016-17". www.volleyball.it. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 8, 2016. สืบค้นเมื่อ November 14, 2021.
  2. "La storia, i record e l'albo d'oro della Supercoppa italiana di volley". Williamhill News. 13 June 2021. สืบค้นเมื่อ 14 November 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]