ระเบียงมนุษยธรรม
หน้าตา
ระเบียงมนุษยธรรม[1] (อังกฤษ: humanitarian corridor) เป็นเขตปลอดทหารชั่วคราวที่จัดขึ้นเพื่อให้เกิดการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และการอพยพของผู้ลี้ภัยออกจากภูมิภาคซึ่งอยู่ภายใต้วิกฤตได้อย่างปลอดภัย ระเบียงมนุษยธรรมยังอาจรวมถึงเขตห้ามบิน (no-fly zone) หรือเขตห้ามเดินรถ (no-drive zone)[2]
รายชื่อระเบียงมนุษยธรรมที่ได้รับการเสนอ
[แก้]- การล้อมมารีอูปอล เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 และถูกปิดสองครั้งจากการถูกโจมตี
- พื้นที่ปลอดภัยของสหประชาชาติ
- ฉนวนลาชึน
- พายุไซโคลนนาร์กิส
- สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย
- สงครามกาซา
- สงครามกลางเมืองลิเบีย
- เขตปลอดภัย (ซีเรีย)
- การรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย
อ้างอิง
[แก้]- ↑
- ""ระเบียงมนุษยธรรม" บันไดขั้นแรกของสันติภาพ". สถาบันปรีดี พนมยงค์. 2023-08-25. สืบค้นเมื่อ 2023-10-14.
- "รัสเซีย ยูเครน : เรื่องเล่าจากผู้ติดอยู่กลางไฟสงครามในเมืองมาริอูโปล". BBC Thai. 2022-03-07. สืบค้นเมื่อ 2023-10-14.
- "นักวิชาการเรียกร้องรัฐบาลไทย เร่งช่วยเหลือผู้หนีภัยความไม่สงบในเมียนมา ชี้หลักมนุษยธรรมไม่ใช่การแทรกแซง". The Standard. 2021-12-31. สืบค้นเมื่อ 2023-10-14.
- ↑ "Security Council hears conflicting Russian, Georgian views of worsening crisis". United Nations Security Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 September 2013. สืบค้นเมื่อ March 14, 2012.
หนังสืออ่านเพิ่ม
[แก้]วิกิพจนานุกรม มีความหมายของคำว่า ระเบียงมนุษยธรรม
- Glossary of Terms: Pauses During Conflict (PDF), United Nations Office for the Coordination of Humanitarian Affairs, June 2011, เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 September 2017
- Djukić, Dražan; Pons, Niccolò (2018). The Companion to International Humanitarian Law. Brill Publishers. p. 391. ISBN 978-90-04-34201-9.
- How do humanitarian corridors work? (PDF), FCEI, Community of Sant'Egidio, Unione delle Chiese metodiste e valdesi, MediterraneanHope, December 2016, เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2019
- Price, Roz (17 September 2020), Humanitarian pauses and corridors in contexts of conflict (PDF), Institute of Development Studies, เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2022
- Rolando, Francesco; Naso, Paolo (2018). "Humanitarian Corridors to Italy: An Interview with Professor Paolo Naso". Harvard International Review. 39 (2): 64–67. ISSN 0739-1854. JSTOR 26617345.