ข้ามไปเนื้อหา

ภูมิคุ้มกันรับมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภูมิคุ้มกันรับมา (อังกฤษ: Passive immunity) เป็นการส่งต่อภูมิคุ้มกันแบบฮิวเมอร์ที่ถูกกระตุ้นแล้วที่ประกอบด้วยแอนทิบอดีที่สร้างมาพร้อมแล้ว ภูมิคุ้มกันรับมาสามารถเกิดขึ้นได้โดยธรรมชาติ ในกรณีที่แอนทิบอดีของมารดาถูกส่งต่อไปยังตัวอ่อนผ่านทางรก และสามารถเกิดจากการถูกกระตุ้นทางเทียมด้วยระดับของ แอนทิบอดีที่เฉพาะต่อสารก่อโรค หรือ สารพิษ เฉพาะหนึ่ง ๆ (มักได้มาจากมนุษย์, ม้า หรือสัตว์อื่น ๆ) จะถูกส่งต่อไปยังบุคคลที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ผ่านทางผลิตผลของเลือด ที่มีแอนทิบอดี เช่นในการรักษาด้วยอิมมูโนกลอบิวลิน หรือ แอนทิเซรัม [1] ภูมิคุ้มกันรูปแบบนี้จะถูกใช้เมื่อมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง และมีเวลาให้ร่างกายพัฒนาภูมิคุ้มกันขึ้นมาเองไม่เพียงพอ หรือเพื่อเป็นการลดอาการที่เกิดขึ้นอยู่ในโรคกดภูมิคุ้มกัน[2] การให้ภูมิคุ้มกันแบบรับมาสามารถให้ในบุคคลที่ไม่สามารถสัเคราะห์แอนทิบอดี และเมื่อได้รับโรคที่เขาไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคนั้น ๆ[3]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Vaccines: Vac-Gen/Immunity Types". www.cdc.gov. สืบค้นเมื่อ 2015-11-20.
  2. Microbiology and Immunology On-Line Textbook: USC School of Medicine
  3. "Passive Immunization - Infectious Diseases". Merck Manuals Professional Edition. สืบค้นเมื่อ 2015-11-12.