ข้ามไปเนื้อหา

ภาษามอกชา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษามอกชา
มอกชัน[1]
мокшень кяль แม่แบบ:Tlit
ออกเสียง['mɔkʃənʲ kælʲ]
ประเทศที่มีการพูดประเทศรัสเซีย
ภูมิภาครัสเซียยุโรป
ชาติพันธุ์ชาวมอกชา 253,000 คน (สำมะโน 2010)
จำนวนผู้พูด[2]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรซีริลลิก
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการสาธารณรัฐมอร์โดเวีย (รัสเซีย)
ผู้วางระเบียบสถาบันวิจัยภาษา วรรณคดี ประวัติศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์มอร์โดเวีย
รหัสภาษา
ISO 639-2mdf
ISO 639-3mdf
กลุ่มภาษามอร์ดวินิกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20[3][4]
แผนที่ชุดภาษาใกล้สูญของโลกของยูเนสโกจัดให้ภาษามอกชาอยู่ในภาวะเสี่ยงใกล้สูญ
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษามอกชา (มอกชา: мокшень кяль, อักษรโรมัน: mokšəń käĺ, ออกเสียง: ['mɔkʃənʲ kælʲ]) เป็นภาษามอร์ดวินิกในกลุ่มภาษายูรัลที่พูดโดยชาวมอกชา ซึ่งมีประมาณ 130,000 คนที่พูดเป็นภาษาแม่ใน ค.ศ. 2010 ภาษามอกชาเป็นภาษาส่วนใหญ่ในพื้นที่ตะวันตกของสาธารณรัฐมอร์โดเวีย[5] ญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของภาษานี้คือภาษาเอร์เซีย ซึ่งไม่สามารถเข้าใจร่วมกันได้ ภาษามอกชายังอาจมีความใกล้ชิดกับภาษาเมชเชราและภาษามูโรเมียนที่สูญหายแล้ว[6]

ประวัติ

[แก้]

จารึกของเชอรัปกิน

[แก้]

มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับการใช้ภาษามอกชาจากอดีตอันไกลโพ้น ตัวอย่างหนึ่งที่น่าสังเกตคือจารึกบนเหรียญเงินมอร์โดฟกาที่ใช้งานในสมัยผู้นำโกลเดนฮอร์ดประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 14 หลักฐานการใช้ภาษานี้ (ในอักษรซีริลลิก) ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 16[7][8]

ภาพมอร์โดฟคา ประเภท A ของไซคอฟสกี

МОЛИ

moli

Моли

АНСИ

ansi

аньцек

ОКАНП

okan

окань

ЄЛКИ

pelki

пяли

(จารึก, มอกชาเก่า)

(ทับศัพท์)

(ตีความ, มอกชา)

МОЛИ АНСИ ОКАНП ЄЛКИ

moli ansi okan pelki

Моли аньцек окань пяли

มีค่าเท่าทองครึ่งหนึ่ง

อิทธิพลอินโด-อิเรเนียน

[แก้]
รูปอินโด-อิเรเนียน
D–V
รูปอินโด-อิเรเนียน แยกจาก ความหมาย คำแผลงในมอกชา
داس เปอร์เซีย: dâs "เคียว" тарваз /'tɑrvɑs/ "เคียว"[9]
𐬠𐬀𐬖𐬀 อเวสตะ: baγa "พระเจ้า" паваз /'pɑvɑs/ "พระเจ้า"[10]
ऊधर् สันสกฤต: ū́dhar "เต้านม" одар /'odɑr/ "เต้านม"[10]
वज्र สันสกฤต: vajra "อาวุธพระเจ้า; วัชระ" узерь /'uzʲərʲ/ "ขวาน"[11]

ภาษาศาสตร์สังคม

[แก้]

สถานะราชการ

[แก้]
ป้ายถนนสามภาษาที่ซารันสค์ ประเทศรัสเซีย แสดงชื่อถนนในภาษารัสเซีย มอกชา และเอร์เซีย

ภาษามอกชาเป็นภาษาราชการหนึ่งในสามภาษาในสาธารณรัฐมอร์โดเวีย (อีกสองภาษาคือเอร์เซียและรัสเซีย) สิทธิของแต่ละภาษาได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐมอร์โดเวีย[12] กฎหมายสาธารณรัฐมอร์โดเวีย N 19-3 ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1998[13] ระบุให้ภาษามอกชาเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่ง และกำหนดการใช้ภาษานี้ในหลากหลายสาขา ทั้งในหน่วยงานของรัฐ เช่น รัฐสภามอร์โดเวีย เอกสารและตราประทับทางการ การศึกษา สื่อมวลชน ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ชื่อทางภูมิศาสตร์ ป้ายบอกทาง อย่างไรก็ตาม การใช้ภาษามอกชาและเอร์เซียในปัจจุบันมีค่อนข้างจำกัด

ความพยายามฟื้นฟูที่มอร์โดเวีย

[แก้]

สัทวิทยา

[แก้]

สระ

[แก้]

ภาษมอกชาเป็นภาษารูปคำติดต่อ ทำให้บางคำมีลักษณะยาวมาก ปัจจุบันถือว่าภาษามอกชาสูญเสียการเปลี่ยนเสียงสระไป การเน้นหนักส่วนใหญ่พบที่พยางค์แรก และการเน้นหนักไม่มีผลต่อการเปลี่ยนเสียงสระ สระมี 8 เสียง ซึ่งมีความสำคัญทั้งทางรากศัพท์และไวยากรณ์

Front Central Back
Close i
⟨и⟩
ɨ
⟨ы⟩
u
⟨у, ю⟩
Mid e
⟨е, э⟩
ə
⟨а, о, е⟩
o
⟨о⟩
Open æ
⟨я, э, е⟩
ɑ
⟨а⟩


พยัญชนะ

[แก้]

ภาษามอกชามีเสียงพยัญชนะ 33 ตัว

Labial Dental Post-
alveolar
Palatal Velar
plain palat.
Nasal m
⟨м⟩
n
⟨н⟩

⟨нь⟩
Stop p
⟨п⟩
b
⟨б⟩
t
⟨т⟩
d
⟨д⟩

⟨ть⟩

⟨дь⟩
k
⟨к⟩
ɡ
⟨г⟩
Affricate ts
⟨ц⟩
tsʲ
⟨ць⟩

⟨ч⟩
Fricative f
⟨ф⟩
v
⟨в⟩
s
⟨с⟩
z
⟨з⟩

⟨сь⟩

⟨зь⟩
ʂ~ʃ
⟨ш⟩
ʐ~ʒ
⟨ж⟩
ç
⟨йх⟩
x
⟨х⟩
Approximant
⟨лх⟩
l
⟨л⟩
l̥ʲ
⟨льх⟩

⟨ль⟩
j
⟨й⟩
Trill
⟨рх⟩
r
⟨р⟩
r̥ʲ
⟨рьх⟩

⟨рь⟩

ระบบการเขียน

[แก้]
อักษรซีริลลิกมอกชา ค.ศ. 1924–1927

ภาษามอกชาใช้อักษรซีริลลิกโดยมีกฎการสะกดเหมือนกับภาษารัสเซียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 ด้วยเหตุผลนี้ ทำให้สระ /e, ɛ, ə/ ไม่มีความแตกต่างแบบตรงตัว[14] อย่างไรก็ตาม พวกเขาก็สามารถทำนายได้จากสัทศาสตร์มอกชาได้ (มากหรือน้อย) การปฏิรูปการสะกดคำใน ค.ศ. 1993 กำหนดว่าเสียง /ə/ ในพยางค์แรก (ไม่ว่าจะเน้นเสียงหรือไม่มี) จะต้องเขียนด้วยเครื่องหมาย "หนัก" ⟨ъ⟩ (เช่น мъ́рдсемс mə́rdśəms "กลับ" เดิมทีคือ мрдсемс) อักษรซีริลลิกมอกชาฉบับที่ใช้ใน ค.ศ. 1924-1927 มีตัวอักษรพิเศษหลายตัว ทั้งแบบทวิอักษรหรืออักษรเดี่ยวพร้อมเครื่องหมายกำกับเสียง[15] แม้ว่าการใช้อักษรละตินสำหรับภาษามอกชาได้รับการอนุมัติอย่างเป็นทางการจาก CIK VCKNA (คณะกรรมการบริหารทั่วไปของคณะกรรมการกลางอักษรใหม่สหภาพทั้งหมด) เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1932 แต่ก็ไม่เคยนำไปใช้งานเลย

อักษรละตินมอกชา ค.ศ. 1932
จากอักษรเป็นเสียง
Cyr Аа Бб Вв Гг Дд Ее Ёё Жж Зз Ии Йй Кк Лл Мм Нн Оо
IPA a b v ɡ d ʲe, je, ʲɛ, ʲə ʲo, jo ʒ z i j k l m n o, ə
ScTr a b v g d ˊe, je, ˊä, ˊə ˊo, jo ž z i j k l m n o, ə
Cyr Пп Рр Сс Тт Уу Фф Хх Цц Чч Шш Щщ Ъъ Ыы Ьь Ээ Юю Яя
IPA p r s t u f x ts ʃ ɕtɕ ə ɨ ʲ e, ɛ ʲu, ju ʲa, æ, ja
ScTr p r s t u f χ c č š šč ə ˊ e, ä ˊu, ju ˊa, ˊä, ja
จากเสียงเป็นอักษร
IPA a ʲa ja ɛ ʲɛ b v ɡ d e ʲe je ʲə ʲo jo ʒ z i ɨ j k l l̥ʲ
Cyr а я я э я, е б в г д дь э е е е ё ё ж з зь и ы й к л ль лх льх
ScTr a ˊa ja ä ˊä b v g d e ˊe je ˊə ˊo jo ž z ź i j k l ľ ʟ ʟ́
IPA m n o p r r̥ʲ s t u ʲu ju f x ts tsʲ ʃ ɕtɕ ə
Cyr м н о п р рь рх рьх с сь т ть у ю ю ф х ц ць ч ш щ о, ъ,* a,* и*
ScTr m n o p r ŕ ʀ ʀ́ s ś t u ˊu ju f χ c ć č š šč ə

ตัวอย่าง

[แก้]
มอกชา อักษรโรมัน อังกฤษ
Да Da Yes
Пара Pára Good
Стане Stáne Right
Аф Af Not
Аш No
Шумбра́т! Šumbrát! Hello! (addressing one person)
Шумбра́тада! Šumbrátada! Hello! (addressing more than one person)
Сюкпря! Sjuk prjá! Thanks! (lit.: Bow)
Ульхть шумбра́! Ulht šumbrá! Bless you!
У́леда шумбра́т! Úleda šumbrát! Bless you (to many)!
Ванфтт пря́цень! Vanft prjátsen Take care!
Ванфтк пря́цень! Vanftk prjátsen! Be careful!
Ко́да э́рят? Kóda érjat? How do you do?
Ко́да те́фне? Kóda téfne? How are your things getting on?
Лац! Lac! Fine!
Це́бярьста! Cébjarsta! Great!
Ня́емозонк! Njájemozonk! Good bye! (lit.: See you later)
Ва́ндыс! Vándis! See you tomorrow!
Шумбра́ста па́чкодемс! Šumbrásta páčkodems! Have a good trip/flight!
Па́ра а́зан
- ле́здоманкса!
- се́мбонкса!
Pára ázan
- lézdomanksa!
- sémbonksa!
Thank you
- for help/assistance!
- for everything!
Аш ме́зенкса! Aš mézenksa! Not at all!
Про́стямак! Prо́stjamak! I'm sorry!
Про́стямасть! Prо́stjamast! I'm sorry (to many)!
Тят кяжия́кшне! Tját kjažijákšne! I didn't mean to hurt you!
Ужя́ль! Užjál! It's a pity!
Ко́да тонь ле́мце? Kóda ton lémce? What is your name?
Монь ле́мозе ... Mon lémoze ... My name is ...
Мъзя́ра тейть ки́зa? Mzjára téjt kíza? How old are you?
Мъзя́ра те́йнза ки́за? Mzjára téinza kíza? How old is he (she)?
Те́йне ... ки́зот. Téjne ... kízot. I'm ... years old.
Те́йнза ... ки́зот. Téjnza ... kízot. He (she) is ... years old.
Мя́рьгат сува́мс? Mjárgat suváms? May I come in?
Мя́рьгат о́замс? Mjárgat о́zams? May I have a seat?
О́зак. Ózak. Take a seat.
О́зада. Ózada. Take a seat (to many).
Учт аф ла́мос. Učt af lámos. Please wait a little.
Мярьк та́ргамс? Mjárk tárgams? May I have a smoke?
Та́ргак. Tárgak. [You may] smoke.
Та́ргада. Tárgada. [You may] smoke (to many).
Аф, э́няльдян, тят та́рга. Af, énjaldjan, tját tárga. Please, don't smoke.
Ко́рхтак аф ла́мода ся́да ка́йгиста (сяда валомня). Kórtak af lámoda sjáda kájgista (sjáda valо́mne). Please speak a bit louder (lower).
Азк ни́нге весть. Azk nínge vest. Repeat one more time.
Га́йфтть те́йне. Gájft téjne. Call me.
Га́йфтеда те́йне. Gájfteda téjne. Call me (to many).
Га́йфтть те́йне ся́да ме́ле. Gájft téjne sjáda méle. Call me later.
Сува́к. Suvák. Come in.
Сува́да. Suváda. Come in (to many).
Ётак. Jо́tak. Enter.
Ётада. Jо́tada. Enter (to many).
Ша́чема ши́цень ма́рхта! Šáčema šícen márhta! Happy Birthday!
А́рьсян тейть па́ваз! Ársjan téjt pávaz! I wish you happiness!
А́рьсян тейть о́цю сатфкст! Ársjan téjt ótsju satfkst! I wish you great success!
Тонь шумбраши́цень и́нкса! Ton šumbrašícen ínksa! Your health!
О́чижи ма́рхта Óčiži márhta! Happy Easter!
Од Ки́за ма́рхта! Od Kíza márhta! Happy New Year!
Ро́штува ма́рхта! Róštuva márhta! Happy Christmas!
То́ньге ста́не! Tónge stáne! Same to you!

การใช้งงาน

[แก้]

วรรณคดี

[แก้]

ก่อน ค.ศ. 1917 หนังสือที่ตีพิมพ์ด้วยภาษามอกซามีประมาณ 100 เล่มส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับศาสนา เอกสารส่วนใหญ่ไม่ถูกตีพิมพ์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 สมาคมมิชชันนารีนิกายรัสเซียนออร์ธอดอกซ์ในกาซานได้ตีพิมพ์ตำราภาษารัสเซียสำหรับชาวมอกชารวมทั้งเพลงพื้นบ้านภาษามอกชา

อ้างอิง

[แก้]
  1. ภาษามอกชา ที่ Ethnologue (25th ed., 2022) Closed access
  2. "Итоги Всероссийской переписи населения 2020 года. Таблица 6. Население по родному языку" [Results of the All-Russian population census 2020. Table 6. population according to native language.]. rosstat.gov.ru. สืบค้นเมื่อ 2023-01-03.
  3. Rantanen, Timo; Tolvanen, Harri; Roose, Meeli; Ylikoski, Jussi; Vesakoski, Outi (2022-06-08). "Best practices for spatial language data harmonization, sharing and map creation—A case study of Uralic". PLOS ONE (ภาษาอังกฤษ). 17 (6): e0269648. Bibcode:2022PLoSO..1769648R. doi:10.1371/journal.pone.0269648. PMC 9176854. PMID 35675367.
  4. Rantanen, Timo, Vesakoski, Outi, Ylikoski, Jussi, & Tolvanen, Harri. (2021). Geographical database of the Uralic languages (v1.0) [Data set]. Zenodo. https://doi.org/10.5281/zenodo.4784188
  5. [1] Encyclopædia Britannica
  6. Janse, Mark; Sijmen Tol; Vincent Hendriks (2000). Language Death and Language Maintenance. John Benjamins Publishing Company. p. A108. ISBN 978-90-272-4752-0.
  7. Зайковский Б. В. «К вопросу о мордовках» Труды Нижне-Волжского областного научного общества краеведения. Вып. 36, часть 1. Саратов, 1929 г
  8. Вячеслав Юрьевич Заварюхин. Памятники нумизматики и бонистики в региональном историко-культурном процессе, автореферат диссертации, 2006
  9. Vershinin 2009, p. 431
  10. 10.0 10.1 Vershinin 2005, p. 307
  11. Vershinin 2005
  12. (ในภาษารัสเซีย) Статья 12. Конституция Республики Мордовия = Article 12. Constitution of the Republic of Mordovia
  13. (ในภาษารัสเซีย) Закон «О государственных языках Республики Мордовия»
  14. Raun 1988, p. 97.
  15. Omniglot.com page on the Moksha language

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Moksha language