ภัทรพล รักษนคร
หน้าตา
ภัทรพล รักษนคร | |
---|---|
ไฟล์:ภัทรพลโท.jpg | |
ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก | |
ดำรงตำแหน่ง 1 เมษายน พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558 | |
รองแม่ทัพภาคที่ 2 | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2558 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 6 ตุลาคม พ.ศ. 2497 |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | กองทัพบกไทย |
ประจำการ | พ.ศ. 2523 - 2558 |
ยศ | พลโท |
พลโท ภัทรพล รักษนคร (6 ตุลาคม พ.ศ. 2497 - ปัจจุบัน)อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก, อดีตรองแม่ทัพภาคที่ 2
ประวัติ
[แก้]พล.ท. ภัทรพล รักษนคร มีชื่อเล่นว่า "อ๋อง" สมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุลจิรา รักษนคร มีบุตรสาวด้วยกัน 3 คน คือ
- นางสาวภาพิชญ์ รักษนคร
- นางสาววริษฐา รักษนคร
- นางสาวชญานิศ รักษนคร
การศึกษา
[แก้]จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัดบวรนิเวศ จากนั้นเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 16 และเข้ารับการศึกษาต่อเนื่องที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 27 รุ่นเดียวกับ พล.อ. กัมปนาท รุดดิษฐ์ องคมนตรี , พล.อ. เฉลิมชัย สิทธิสาท อดีตผู้บัญชาการทหารบกและองคมนตรี , พล.อ. เครือนาค เกิดขำ อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก และพล.อ. ธวัช สุกปลั่ง อดีตแม่ทัพภาคที่ 2[1]
การรับราชการ
[แก้]- พ.ศ. 2548 - ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 8[2]
- พ.ศ. 2552 - รองผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 3
- พ.ศ. 2553 - ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเลย[3]
- พ.ศ. 2556 - ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 23[4]
- พ.ศ. 2557 - รองแม่ทัพภาคที่ 2[5]
- พ.ศ. 2558 - ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก (อัตรายศพลโท)[6]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2558 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[7]
- พ.ศ. 2555 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)[8]
- พ.ศ. 2525 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[9]
- พ.ศ. 2559 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[10]
- พ.ศ. 2538 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[11]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ทำเนียบนายพล เตรียมทหาร รุ่นที่ 16". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-14. สืบค้นเมื่อ 2015-06-03.
- ↑ รายนามอดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๘ เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรมทหารราบที่ ๘ ค่ายสีหราชเดโชไชย ตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๒๗ ตอน พิเศษ ๑๓๔ ง ราชกิจจานุบเกษา ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๓๐ ตอน พิเศษ ๑๑๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๓๑ ตอน พิเศษ ๑๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๓๒ ตอน พิเศษ ๖๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๘, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๑ ข หน้า ๑๖, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕ เก็บถาวร 2013-10-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๓๕ ข หน้า ๓๔, ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๐๐ ตอนที่ ๑๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐, ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๓๗ ข หน้า ๓๒๑, ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๒๔, ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๙
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2497
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- ทหารบกชาวไทย
- บุคคลจากจังหวัดขอนแก่น
- บุคคลจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ
- บุคคลจากโรงเรียนเตรียมทหาร
- บุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- บุคคลจากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา