ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (อังกฤษ: Astrophysics) เป็นแขนงวิชาทางดาราศาสตร์ ว่าด้วยสมบัติทางกายภาพของวัตถุในอวกาศ ไม่ว่าจะเป็นดาวฤกษ์ ดาราจักร และเอกภพทั้งหมดนั้นจะเน้นศึกษาแขนงวิชาที่กล่าวมาข้างต้น มากกว่าศึกษาตำแหน่งหรือการเคลื่อนที่ของวัถตุต่าง ๆ ในอวกาศ[1][2] วิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์จะศึกษาเกี่ยวกับดวงอาทิตย์, ดาวฤกษ์ต่าง ๆ, กาแล็กซีต่าง ๆ, ดาวเคราะห์นอกระบบ, มวลสารระหว่างดาว, รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล[3][4] สาขาวิชานี้จะตรวจสอบและศึกษาอย่างละเอียดเกี่ยวกับสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า และปัจจัยต่าง ๆ อาทิ กำลังส่องสว่าง, ความหนาแน่น, อุณหภูมิ และสารประกอบเคมี เนื่องจากวิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์นั้นครอบคลุมเนื้อหาและแขนงวิชาต่าง ๆ ในบริเวณกว้าง จึงสามารถรวมอีกหลายแขนงวิชาเข้ามาในวิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์นี้ได้ด้วย อาทิ กลศาสตร์, การศึกษาแรงแม่เหล็กไฟฟ้า, กลศาสตร์สถิติ, อุณหพลศาสตร์, กลศาสตร์ควอนตัม, ทฤษฎีสัมพันธภาพ, ฟิสิกส์นิวเคลียร์, ฟิสิกส์อะตอม โมเลกุล และทัศนศาสตร์
ข้อมูลเพิ่มเติม
[แก้]- เคมีดาราศาสตร์
- รายชื่อหอดูดาว
- Astronomical spectroscopy
- Bremsstrahlung
- Henry Draper Medal
- Hertzsprung–Russell diagram
- High-energy astronomy
- Illustris project
- Important publications in astrophysics
- List of astronomers (includes astrophysicists)
- Nucleosynthesis
- Neutrino astronomy (future prospects)
- Particle accelerator
- Radio astronomy
- Spectroscopy
- Stellar classification
- Stellar physics
- Timeline of knowledge about galaxies, clusters of galaxies, and large-scale structure
- Timeline of white dwarfs, neutron stars, and supernovae
- Timeline of black hole physics
- Timeline of gravitational physics and relativity
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Keeler, James E. (November 1897), "The Importance of Astrophysical Research and the Relation of Astrophysics to the Other Physical Sciences", The Astrophysical Journal: An International Review of Spectroscopy and Astronomical Physics, 6 (4): 271–288, Bibcode:1897ApJ.....6..271K, doi:10.1086/140401,
[Astrophysics] is closely allied on the one hand to astronomy, of which it may properly be classed as a branch, and on the other hand to chemistry and physics.… It seeks to ascertain the nature of the heavenly bodies, rather than their positions or motions in space–what they are, rather than where they are.
- ↑ "astrophysics". Merriam-Webster, Incorporated. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-10. สืบค้นเมื่อ 2011-05-22.
- ↑ "Focus Areas - NASA Science". nasa.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-11. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
- ↑ "astronomy". Encyclopedia Britannica.