ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วากยสัมพันธ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ms:Sintaksis
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:วากยสัมพันธ์]]
[[หมวดหมู่:วากยสัมพันธ์]]

[[af:Sinsbou]]
[[als:Syntax]]
[[an:Sintaxi]]
[[ar:علم النحو]]
[[az:Sintaksis]]
[[bat-smg:Sėntaksė]]
[[be:Сінтаксіс мовы]]
[[be-x-old:Сынтаксіс]]
[[bg:Синтаксис]]
[[bn:বাক্যতত্ত্ব]]
[[br:Kevreadurezh]]
[[ca:Sintaxi]]
[[cs:Syntax]]
[[cu:Сѷнтаѯь]]
[[cy:Cystrawen]]
[[da:Syntaks]]
[[de:Syntax]]
[[el:Σύνταξη (γλωσσολογία)]]
[[en:Syntax]]
[[eo:Sintakso]]
[[es:Sintaxis]]
[[et:Süntaks]]
[[eu:Sintaxi]]
[[fa:نحو]]
[[fi:Syntaksi]]
[[fr:Syntaxe]]
[[fy:Sinlear]]
[[gl:Sintaxe]]
[[gv:Co-ordrail]]
[[he:תחביר]]
[[hi:वाक्यविन्यास]]
[[hif:Syntax]]
[[hr:Sintaksa]]
[[hsb:Syntaksa]]
[[hu:Szintaxis]]
[[ia:Syntaxe]]
[[id:Sintaksis]]
[[io:Sintaxo]]
[[is:Setningafræði]]
[[it:Sintassi]]
[[ja:統語論]]
[[jbo:genlalske]]
[[kk:Синтаксис]]
[[ko:통사론]]
[[koi:Синтаксис]]
[[ky:Синтаксис]]
[[la:Syntaxis]]
[[li:Syntaxis]]
[[lmo:Sintassi]]
[[lt:Sintaksė]]
[[lv:Sintakse]]
[[mk:Синтакса (лингвистика)]]
[[mr:वाक्यरचना]]
[[ms:Sintaksis]]
[[nl:Syntaxis (taalkunde)]]
[[nn:Syntaks]]
[[no:Syntaks]]
[[nov:Sintaxe]]
[[pl:Syntaktyka (językoznawstwo)]]
[[pt:Sintaxe]]
[[rm:Sintaxa]]
[[ro:Sintaxă]]
[[ru:Синтаксис]]
[[sh:Sintaksa]]
[[simple:Syntax]]
[[sk:Syntax (jazykoveda)]]
[[sl:Skladnja]]
[[sr:Синтакса]]
[[su:Sintaksis]]
[[sv:Syntax]]
[[sw:Sintaksi]]
[[ta:சொற்றொடரியல்]]
[[tl:Palaugnayan]]
[[tr:Söz dizimi]]
[[tt:Синтаксис]]
[[uk:Синтаксис]]
[[vi:Cú pháp học]]
[[wa:Adjinçaedje del fråze]]
[[war:Sintaksis]]
[[zh:语法学]]
[[zh-classical:語法學]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:58, 10 มีนาคม 2556

ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ (อังกฤษ : syntax) หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฎของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ

วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นประโยค

การเรียงลำดับคำในประโยค

ในภาษาต่างๆมีการเรียงลำดับคำในประโยคดังนี้[1] (แสดงประธานด้วยคำว่าฉัน แสดงกรรมด้วยคำว่าข้าวและแสดงกริยาด้วยคำว่ากิน)

ภาษาส่วนใหญ่ในโลกเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม และ ประธาน-กรรม-กริยา ส่วนแบบกรรม-ประธาน-กริยา พบน้อยมาก

อ้างอิง

  1. จรัลวิไล จรูญโรจน์. ภาษาศาสตร์เบื้องต้น.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2548