ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ของเหลวผลควบแน่นโพส–ไอน์สไตน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chobot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต แก้ไข: ko:보스-아인슈타인 응축
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
พฤติกรรมที่โดยปกติจะเห็นได้ในระดับอะตอมก็สามารถเห็นได้ในระดับที่กว้างขึ้น ตัวอย่างเช่น ถ้านำสสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์มาใส่ในถ้วยแก้ว และรักษาระดับความเย็นให้เพียงพอ สสารดังกล่าวจะไหลคลานออกมาข้างนอกถ้วยแก้วด้วยตัวมันเอง
พฤติกรรมที่โดยปกติจะเห็นได้ในระดับอะตอมก็สามารถเห็นได้ในระดับที่กว้างขึ้น ตัวอย่างเช่น ถ้านำสสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์มาใส่ในถ้วยแก้ว และรักษาระดับความเย็นให้เพียงพอ สสารดังกล่าวจะไหลคลานออกมาข้างนอกถ้วยแก้วด้วยตัวมันเอง


สสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ได้รับการพยากรณ์ว่ามีอยู่จริงโดย[[ไอน์สไตน์]]ในปี ค.ศ. 1925 หลังจากที่ศึกษาผลงานของ[[สัตเยนตรานาถ โบส]] (Satyendra Nath Bose) แต่ก็ไม่มีใครทำให้สสารดังกล่าวเกิดขึ้นได้จริงจนกระทั่งถึงปี 1995 ซึ่งส่งผลให้การค้นพบดังกล่าวได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ในปี 2001 ต้นฉบับงานเขียนของไอน์สไตน์ก็เพิ่งถูกค้นพบอีกครั้งในปี 2005 นี่เอง
สสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ได้รับการพยากรณ์ว่ามีอยู่จริงโดย[[ไอน์สไตน์]]ในปี ค.ศ. 1925 หลังจากที่ศึกษาผลงานของ[[สัตเยนตรานาถ โบส]] (Satyendra Nath Bose) แต่ก็ไม่มีใครทำให้สสารดังกล่าวเกิดขึ้นได้จริงจนกระทั่งถึงปี 1995 ซึ่งส่งผลให้การค้นพบดังกล่าวได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ในปี 2001 ต้นฉบับงานเขียนของไอน์สไตน์ก็เพิ่งถูกค้นพบอีกครั้งในปี 2005 นี่เอง

{{สถานะของสสาร}}

{{โครงวิทยาศาสตร์}}
{{โครงวิทยาศาสตร์}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 14 มีนาคม 2555


สสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ (อังกฤษ: Bose–Einstein condensate) เกิดขึ้นเมื่อเราลดอุณหภูมิของธาตุลงให้ต่ำมากๆ โดยปกติจะสูงกว่าศูนย์องศาสัมบูรณ์ (-273.15 องศาเซลเซียส) เพียงแค่เศษเสี้ยวเดียวของ 1 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิในทางทฤษฎีที่ทุกสิ่งทุกอย่างหยุดการเคลื่อนไหวนิ่งสนิท

พฤติกรรมที่โดยปกติจะเห็นได้ในระดับอะตอมก็สามารถเห็นได้ในระดับที่กว้างขึ้น ตัวอย่างเช่น ถ้านำสสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์มาใส่ในถ้วยแก้ว และรักษาระดับความเย็นให้เพียงพอ สสารดังกล่าวจะไหลคลานออกมาข้างนอกถ้วยแก้วด้วยตัวมันเอง

สสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ได้รับการพยากรณ์ว่ามีอยู่จริงโดยไอน์สไตน์ในปี ค.ศ. 1925 หลังจากที่ศึกษาผลงานของสัตเยนตรานาถ โบส (Satyendra Nath Bose) แต่ก็ไม่มีใครทำให้สสารดังกล่าวเกิดขึ้นได้จริงจนกระทั่งถึงปี 1995 ซึ่งส่งผลให้การค้นพบดังกล่าวได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 2001 ต้นฉบับงานเขียนของไอน์สไตน์ก็เพิ่งถูกค้นพบอีกครั้งในปี 2005 นี่เอง