ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วากยสัมพันธ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ar:علم النظم
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fy:Syntaksis; cosmetic changes
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
ภาษาส่วนใหญ่ในโลกเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม และ ประธาน-กรรม-กริยา ส่วนแบบกรรม-ประธาน-กริยา พบน้อยมาก
ภาษาส่วนใหญ่ในโลกเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม และ ประธาน-กรรม-กริยา ส่วนแบบกรรม-ประธาน-กริยา พบน้อยมาก


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
<references/>
<references/>
{{โครงภาษา}}


[[หมวดหมู่:ไวยากรณ์]]
[[หมวดหมู่:ไวยากรณ์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
{{โครงภาษา}}


[[als:Syntax]]
[[als:Syntax]]
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
[[fi:Syntaksi]]
[[fi:Syntaksi]]
[[fr:Syntaxe]]
[[fr:Syntaxe]]
[[fy:Syntaksis]]
[[gl:Sintaxe]]
[[gl:Sintaxe]]
[[gv:Co-ordrail]]
[[gv:Co-ordrail]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:03, 19 เมษายน 2552

ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฏของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ

วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นประโยค

การเรียงลำดับคำในประโยค

ในภาษาต่างๆมีการเรียงลำดับคำในประโยคดังนี้[1] (แสดงประธานด้วยคำว่าฉัน แสดงกรรมด้วยคำว่าข้าวและแสดงกริยาด้วยคำว่ากิน)

ภาษาส่วนใหญ่ในโลกเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม และ ประธาน-กรรม-กริยา ส่วนแบบกรรม-ประธาน-กริยา พบน้อยมาก

อ้างอิง

  1. จรัลวิไล จรูญโรจน์. ภาษาศาสตร์เบื้องต้น.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2548