ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าปางคำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kajitto (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เดิม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
พระองค์ยังทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการประพันธ์ และวรรณกวี โดยทรงแต่งวรรณกรรมเรื่องสินไซ หรือ[[สังข์ศิลป์ชัย]] ซึ่งถือว่าเป็นวรรณกรรมชั้นเยี่ยมของอาณาจักรล้านช้าง (สปป.ลาว) และวรรณกรรมเรื่องท้าวฮุ่งท้าวเจือง (ขุนเจือง) ซึ่งมีทรงประพันธ์ที่สื่อถึงอารมย์ความเศร้า ความทุกข์ ความโกรธแค้น ความดีใจในบทประพันธ์นั้นได้ลงตัว
พระองค์ยังทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการประพันธ์ และวรรณกวี โดยทรงแต่งวรรณกรรมเรื่องสินไซ หรือ[[สังข์ศิลป์ชัย]] ซึ่งถือว่าเป็นวรรณกรรมชั้นเยี่ยมของอาณาจักรล้านช้าง (สปป.ลาว) และวรรณกรรมเรื่องท้าวฮุ่งท้าวเจือง (ขุนเจือง) ซึ่งมีทรงประพันธ์ที่สื่อถึงอารมย์ความเศร้า ความทุกข์ ความโกรธแค้น ความดีใจในบทประพันธ์นั้นได้ลงตัว


== พระราชประวัติ ==
== พระ== พระราชประวัติ == ==
เมื่อปี พ.ศ. 2228 <ins>เจ้าอุปราชนองหรือ</ins>เจ้าปางคำเป็นเชื้อพระวงศ์[[<s>เชียงรุ่ง</s><ins>เวียงจันทน์</ins>]]<s>แสนหวีฟ้า</s> ได้<s>อพยพหนีภัยรุกรานของพวกจีนฮ่อบุกเข้ายึดนครเชียงรุ่ง ลงมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร</s><ins>รับโปรดเกล้าจาก</ins><nowiki>[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]]</nowiki> พระมหากษัตริย์<nowiki>[[ล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้าง]]</nowiki><ins>ลงไปตั้งเมืองขึ้นใหม่นามว่า</ins> <s>โดยมีเจ้านาย</s>นคร<s>เชียงรุ่งที่อพยพลงมาพร้อมกันคือ <nowiki>[[เจ้าอินทกุมาร]]</nowiki> และ<nowiki>[[เจ้าจันทกุมารี]]</nowiki> ซึ่งเป็นพระราชมารดาเจ้ากิ่งกิสราช ปฐมกษัตริย์ของอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง (พ.ศ. 2246-2265) และเจ้าอินทโฉม กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง พระองค์ที่ 2 (พ.ศ.</s><ins>เขื่อนขันธ์กาบเเก้วบัวบาน</ins> <s>2266-2292)</s><ins>ขึ้นใหม่เเละให้ขึ้นกับคนหลวงเวียงจันทน์</ins>


ต่อมาพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ทรงโปรดให้เจ้า<s>ปางคำ</s><ins>นอง</ins>เสกสมรสกับพระราชนัดดาในพระองค์ และมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ

<nowiki>#</nowiki> [[<s>เจ้า</s>พระตา]]

<nowiki>#</nowiki> [[<s>เจ้า</s>พระวอ]]

เมื่อพระ<s>ราช</s>โอรสทั้งสองพระองค์เจริญชนม์ เจ้า<s>ปางคำ</s><ins>นอง</ins>ทรงโปรดให้เข้ารับราชการสนองพระคุณพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ผู้เป็นพระปัยกา (คุณตาทวด) ที่พระราชสำนักนครเวียงจันทน์

== ในปี พ.ศ.เดียวกันนั้นเอง <nowiki>[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]]</nowiki> ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้า<s>ปางคำ</s><ins>นอง</ins>ทรงนำกำลังไพร่พลครัว<s>นครเชียงรุ่งแสนหวีฟ้า</s><ins>ลาว</ins>ที่ติดตาม<s>มา</s>ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองหนองบัวลุ่มภู ซึ่ง<nowiki>[[พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช]]</nowiki> ทรงนำไพร่พลหลวงพระบางและเวียงจันทน์มาก่อสร้างขึ้นครั้ง พ.ศ. 2106 ให้เมืองหน้าด่านของกรุงศรีสัตตนาคนหุต (<nowiki>[[เวียงจันทน์]]</nowiki>) เมื่อเจ้า<s>ปางคำ</s><ins>นอง</ins>ได้มาถึงเมืองหนองบัวลุ่มภู ทรงเลือกหน้าทำเลที่ตั้งบ้านเมืองใหม่ บริเวณริมหนองบัวอันมีปราการทางธรรมชาติคือ เทือกเขาภูพานสูงตระหง่าน สามารถป้องกันข้าศึกศัตรู พร้อมก่อสร้างค่ายคูประตูหอรบ กำแพงคูเมืองล้อมรอบพร้อมประตูเวียงอย่างแน่นหนา สถาปนาเวียงแห่งใหม่นี้ว่า <nowiki>'''"เวียงใหม่นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน"''' แต่ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า '''"หนองบัวลุ่มภู"'''</nowiki> ซึ่ง<ins>เเรกเริ่ม</ins>เป็นเมือง<s>เอกเทศราชไม่ขึ้น</s>ตรงต่ออาณาจักร<s>ใด</s><ins>ล้านช้าง</ins> ทรงให้ตั้งกฏบัญญัติบ้านเมืองหนองบัวลุ่มภู มีลำพระเนียงเป็นแม่น้ำสายหลักไหลหล่อเลี้ยงชาวเมือง มีพญาช้างเผือกคู่เวียง และมี<s>เมืองหน้าด่าน</s><ins>เมืองขึ้น</ins>ของนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ได้แก่ เมืองนาด้วง เมืองภูเวียง เมืองผ้าขาว เมืองพันนาประวัติ ==
เมื่อปี พ.ศ. 2228 เจ้าอุปราชนองหรือเจ้านองเป็นเชื้อพระวงศ์[[เวียงจันทน์]] ได้รับโปรดเกล้าจาก[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] พระมหากษัตริย์[[ล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้าง]]ลงไปตั้งเมืองขึ้นใหม่นามว่า นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ขึ้นใหม่แทนเมืองเก่าที่รกร้างและให้ขึ้นตรงกับนครหลวงเวียงจันทน์
เมื่อปี พ.ศ. 2228 เจ้าอุปราชนองหรือเจ้านองเป็นเชื้อพระวงศ์[[เวียงจันทน์]] ได้รับโปรดเกล้าจาก[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] พระมหากษัตริย์[[ล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้าง]]ลงไปตั้งเมืองขึ้นใหม่นามว่า นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ขึ้นใหม่แทนเมืองเก่าที่รกร้างและให้ขึ้นตรงกับนครหลวงเวียงจันทน์



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:38, 14 มกราคม 2565

พระโพสาทธรรมิราชาไชยจักรพรรดิภูมินทราธิราช หรือเจ้าอุปราช (นอง) แห่งเวียงจันทน์ หรืออีกนามหนึ่งเรียกว่า เจ้านอง หรือ เจ้าปางคำ หรือ เจ้าสุวรรณปางคำ ปฐมบรรพบุรุษของเจ้าเมืองผู้ก่อตั้งเวียงใหม่นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลำภู) (พ.ศ. 2228-2294) ถือเป็นปฐมราชวงศ์แสนทิพย์นาบัว และปฐมวงศ์แห่งเมืองอุบลราชธานีศรีวนาไลยประเทศราช เมืองยศสุนทรประเทศราช เมืองเขมราษฎร์ธานี เมืองหนองคาย เมืองอำนาจเจริญ เมืองพิบูลมังสาหาร เมืองตระการพืชผล เมืองมหาชนะชัย เมืองเสลภูมินิคม เมืองวารินทร์ชำราบ เมืองไชยบุรี ฯลฯ พระองค์มีศักดิ์เป็นพระโอรสของแสนทิพย์นาบัวผู้มีเชื้อสายสามัญชนทางไทพวนจากบิดาและไทดำทางมารดา เดิมเป็นขุนนางล้านช้าง ภายหลังได้รับโปรดเกล้าฯจากกษัตริย์ล้านช้างเวียงจันทน์ให้ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอุปราชแห่งกรุงเวียงจันทน์ ภายหลังได้รับโปรดเกล้าฯให้ลงไปตั้งเมืองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบานขึ้นกับนครหลวงเวียงจันทน์ จึงมีการตั้งราชวงศ์เป็นของตนเองขึ้นโดยใช้นามมาจากพระบิดาของท่าน คือ แสนทิพย์นาบัว ภายหลังอุปราชนองยึดอำนาจจากเจ้าองค์ลอง พระราชโอรสของเจ้าไชยองเว้ จนได้ปกครองนครหลวงเวียงจันทน์ แต่ได้พระยศเป็นเพียงเจ้าอุปราชครองเมือง ไม่อาจได้รับการยอมรับหรือรับรองจากขุนนางให้ขึ้นเป็นกษัตริย์อย่างเป็นทางการแต่อย่างใดเนื่องจากเจ้านองไม่มีเชื้อสายทางกษัตริย์ล้านช้างแต่เป็นเพียงเชื้อสายสามัญชน ภายหลังได้ครองนครเวียงจันทน์จึงมอบให้พระตาบุตรชายไปปกครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบานแทน ภายหลังบุตรชายทั้ง 2 คือ พระวอและพระตาร่วมมือกับเจ้าศิริบุญสาร พระราชโอรสของเจ้าลอง เข้ายึดอำนาจจากเจ้าอุปราชนอง พระบิดาของตน

พระองค์ยังทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการประพันธ์ และวรรณกวี โดยทรงแต่งวรรณกรรมเรื่องสินไซ หรือสังข์ศิลป์ชัย ซึ่งถือว่าเป็นวรรณกรรมชั้นเยี่ยมของอาณาจักรล้านช้าง (สปป.ลาว) และวรรณกรรมเรื่องท้าวฮุ่งท้าวเจือง (ขุนเจือง) ซึ่งมีทรงประพันธ์ที่สื่อถึงอารมย์ความเศร้า ความทุกข์ ความโกรธแค้น ความดีใจในบทประพันธ์นั้นได้ลงตัว

พระ== พระราชประวัติ ==

เมื่อปี พ.ศ. 2228 เจ้าอุปราชนองหรือเจ้าปางคำเป็นเชื้อพระวงศ์[[เชียงรุ่งเวียงจันทน์]]แสนหวีฟ้า ได้อพยพหนีภัยรุกรานของพวกจีนฮ่อบุกเข้ายึดนครเชียงรุ่ง ลงมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารรับโปรดเกล้าจาก[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] พระมหากษัตริย์[[ล้านช้าง|อาณาจักรล้านช้าง]]ลงไปตั้งเมืองขึ้นใหม่นามว่า โดยมีเจ้านายนครเชียงรุ่งที่อพยพลงมาพร้อมกันคือ [[เจ้าอินทกุมาร]] และ[[เจ้าจันทกุมารี]] ซึ่งเป็นพระราชมารดาเจ้ากิ่งกิสราช ปฐมกษัตริย์ของอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง (พ.ศ. 2246-2265) และเจ้าอินทโฉม กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง พระองค์ที่ 2 (พ.ศ.เขื่อนขันธ์กาบเเก้วบัวบาน 2266-2292)ขึ้นใหม่เเละให้ขึ้นกับคนหลวงเวียงจันทน์


ต่อมาพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ทรงโปรดให้เจ้าปางคำนองเสกสมรสกับพระราชนัดดาในพระองค์ และมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ

# [[เจ้าพระตา]]

# [[เจ้าพระวอ]]

เมื่อพระราชโอรสทั้งสองพระองค์เจริญชนม์ เจ้าปางคำนองทรงโปรดให้เข้ารับราชการสนองพระคุณพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ผู้เป็นพระปัยกา (คุณตาทวด) ที่พระราชสำนักนครเวียงจันทน์

ในปี พ.ศ.เดียวกันนั้นเอง [[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าปางคำนองทรงนำกำลังไพร่พลครัวนครเชียงรุ่งแสนหวีฟ้าลาวที่ติดตามมาไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองหนองบัวลุ่มภู ซึ่ง[[พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช]] ทรงนำไพร่พลหลวงพระบางและเวียงจันทน์มาก่อสร้างขึ้นครั้ง พ.ศ. 2106 ให้เมืองหน้าด่านของกรุงศรีสัตตนาคนหุต ([[เวียงจันทน์]]) เมื่อเจ้าปางคำนองได้มาถึงเมืองหนองบัวลุ่มภู ทรงเลือกหน้าทำเลที่ตั้งบ้านเมืองใหม่ บริเวณริมหนองบัวอันมีปราการทางธรรมชาติคือ เทือกเขาภูพานสูงตระหง่าน สามารถป้องกันข้าศึกศัตรู พร้อมก่อสร้างค่ายคูประตูหอรบ กำแพงคูเมืองล้อมรอบพร้อมประตูเวียงอย่างแน่นหนา สถาปนาเวียงแห่งใหม่นี้ว่า '''"เวียงใหม่นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน"''' แต่ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า '''"หนองบัวลุ่มภู"''' ซึ่งเเรกเริ่มเป็นเมืองเอกเทศราชไม่ขึ้นตรงต่ออาณาจักรใดล้านช้าง ทรงให้ตั้งกฏบัญญัติบ้านเมืองหนองบัวลุ่มภู มีลำพระเนียงเป็นแม่น้ำสายหลักไหลหล่อเลี้ยงชาวเมือง มีพญาช้างเผือกคู่เวียง และมีเมืองหน้าด่านเมืองขึ้นของนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ได้แก่ เมืองนาด้วง เมืองภูเวียง เมืองผ้าขาว เมืองพันนาประวัติ

เมื่อปี พ.ศ. 2228 เจ้าอุปราชนองหรือเจ้านองเป็นเชื้อพระวงศ์เวียงจันทน์ ได้รับโปรดเกล้าจากพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช พระมหากษัตริย์อาณาจักรล้านช้างลงไปตั้งเมืองขึ้นใหม่นามว่า นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ขึ้นใหม่แทนเมืองเก่าที่รกร้างและให้ขึ้นตรงกับนครหลวงเวียงจันทน์

ต่อมาพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ทรงโปรดให้เจ้านองเสกสมรสกับพระราชนัดดาในพระองค์ และมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ

  1. เจ้าพระตา
  2. เจ้าพระวอ

เมื่อพระโอรสทั้งสองพระองค์เจริญชนม์ เจ้านองทรงโปรดให้เข้ารับราชการสนองพระคุณพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ผู้เป็นพระปัยกา (คุณตาทวด) ที่พระราชสำนักนครเวียงจันทน์

ในปี พ.ศ.เดียวกันนั้นเอง พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้านองทรงนำกำลังไพร่พลครัวลาวที่ติดตามไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองหนองบัวลุ่มภู ซึ่งพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ทรงนำไพร่พลหลวงพระบางและเวียงจันทน์มาก่อสร้างขึ้นครั้ง พ.ศ. 2106 ให้เมืองหน้าด่านของกรุงศรีสัตตนาคนหุต (เวียงจันทน์) เมื่อเจ้านองได้มาถึงเมืองหนองบัวลุ่มภู ทรงเลือกหน้าทำเลที่ตั้งบ้านเมืองใหม่ บริเวณริมหนองบัวอันมีปราการทางธรรมชาติคือ เทือกเขาภูพานสูงตระหง่าน สามารถป้องกันข้าศึกศัตรู พร้อมก่อสร้างค่ายคูประตูหอรบ กำแพงคูเมืองล้อมรอบพร้อมประตูเวียงอย่างแน่นหนา สถาปนาเวียงแห่งใหม่นี้ว่า "เวียงใหม่นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน" แต่ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า "หนองบัวลุ่มภู" ซึ่งแรกเริ่มเป็นเมืองตรงต่ออาณาจักรล้านช้าง ทรงให้ตั้งกฏบัญญัติบ้านเมืองหนองบัวลุ่มภู มีลำพระเนียงเป็นแม่น้ำสายหลักไหลหล่อเลี้ยงชาวเมือง มีพญาช้างเผือกคู่เวียง และมีเมืองขึ้นของนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ได้แก่ เมืองนาด้วง เมืองภูเวียง เมืองผ้าขาว เมืองพันนา[1]

ปี พ.ศ. 2281 เมื่อเจ้านองได้เสด็จคล้องช้าง พร้อมไพร่พลหนองบัวลุ่มภูยกลงมาตามริมแม่น้ำโขงจนล่วงเข้าเขตนครกาลจำบากนาคบุรีศรี (อาณาจักรล้านช้างจำปาสัก) เจ้านองจึงได้เจ้านางเภาเป็นพระมเหสี แล้วยกไพร่พลกลับไปหนองบัวลุ่มภู ต่อมาเจ้านางเภาได้ประสูติพระราชธิดา พระนามว่า "เจ้านางแพง" หนองบัวลุ่มภูกับนครจำปาศักดิ์จึงมีความสัมพันธ์กันนับตั้งแต่นั้นมา

เมื่อเจ้านองนำครัวชาวลาวมาอยู่ที่หนองบัวลุ่มภูแล้ว ก็ให้มีการนำขนบธรรมเนียม และประเพณีของล้านนาโบราณ เช่น ธรรมเนียมการเผาศพเจ้านายบนเมรุนกหัสดีลิงค์ และธรรมเนียมประเพณีดังกล่าวนั้น ภายหลังเมื่อชาวหนองบัวลุ่มภูได้ย้ายลงไปตั้งเมืองใหม่ที่อุบลราชธานีและยโสธรก็ยังคงไว้ซึ่งธรรมเนียมของล้านนานี้ไว้ด้วย [2]

ต่อมาเจ้าอุปราชนองมีความพยายามที่จะแย่งชิงอำนาจจากเจ้าองค์ลอง กษัตริย์ล้านช้างเวียงจันทน์องค์ที่ 2 และสามารถยึดอำนาจได้เป็นผลสำเร็จ ในปี พ.ศ. 2283 แม้จะสามารถยึดอำนาจได้และสามารถครองนครหลวงเวียงจันทน์ได้แต่เนื่องจากเจ้านองไม่ได้มีเชื้อสายกษัตริย์แต่เป็นเพียงสามัญชน เหล่าบรรดาขุนนางจึงยอมรับท่านให้ดำรงตำแหน่งเจ้านครเพียงแค่เป็น เจ้าอุปราชนองตามเดิม ภายหลังพระโอรสทั้งสอง คือ พระวอและพระตาร่วมมือกับเจ้าศิริบุญสาร พระราชโอรสของเจ้าองค์ลอง ยึดอำนาจคืนได้สำเร็จ หลังจากพ่ายแพ้ เจ้าอุปราชนองจึงถูกพระเจ้าศิริบุญสารซึ่งได้รับการสนับสนุนจากพระโอรสทั้งสองของท่านนี้เองสำเร็จโทษจนถึงแก่พิราลัย ในปี พ.ศ. 2294

พิราลัย

เจ้านองหรือเจ้าปางคำ ทรงพิราลัยเมื่อปี พ.ศ. 2294 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา พระองค์ที่ 31 ทรงปกครองเมืองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน 55 ปี และนครหลวงเวียงจันทน์ 11 ปี

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน

เจ้าเมืองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน
ลำดับ รายพระนาม เริ่มต้นรัชกาล สิ้นสุดรัชกาล รวมระยะเวลา หมายเหตุ
1 เจ้าอุปราชนอง พ.ศ. 2228 พ.ศ. 2283 55 ปี
2 พระวรราชปิตา (เจ้าพระตา) พ.ศ. 2283 พ.ศ. 2314 31 ปี
3 พระวรราชภักดี (เจ้าพระวอ) - - - อยู่ในภาวะสงครามกับเวียงจันทน์ และได้อพยพหนีลงมายังบ้านสิงห์ท่า (ยโสธร) ก่อนขึ้นครองเมือง

ทรงวรรณกรรมสินไซ

สินไซ หรือ สังศิลป์ชัย เป็นวรรณกรรมที่นิยมกันมากในอาณาจักรล้านช้าง โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากปัญญาสชาดก หรือชาดกห้าสิบเรื่อง หรือพระเจ้าห้าสิบชาติตามสำนวนลาว[3] ทั้งนี้เรื่องสินไซ มีนักปราชญ์ล้านช้างประพันธ์ไว้หลายคน แต่ที่นับว่าดีที่สุดและนิยมมากที่สุดคือ สินไซ สำนวนของเจ้าปางคำ ที่ประพันธ์ขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ซึ่งเป็นสมัยที่เรียกกันว่ายุคทองแห่งวรรณกรรมลาว และสินไซสำนวนของเจ้านองก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง

พงศาวลี

เชิงอรรถ

  1. "ประวัติจังหวัดอุบลราชธานี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-17. สืบค้นเมื่อ 2013-02-22.
  2. "ตำนานนกหัสดีลิงค์กับพิธีเผาศพ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-18. สืบค้นเมื่อ 2013-02-22.
  3. เรื่องย่อสินไซ หรือสังศิลป์ชัย