ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินคงที่สากล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9357689 สร้างโดย ภิเภก เทพรักษา (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ภิเภก เทพรักษา (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ปฏิทินคงที่สากล''' ({{lang-en|International Fixed Calendar}}) หรือชื่ออื่นว่า '''แผนคอตส์เวิร์ธ''' '''แผนอีสต์แมน''' '''ปฏิทินสิบสามเดือน''' หรือ '''ปฏิทินเดือนเท่า''' ({{lang-en|Cotsworth plan; Eastman plan; 13 Month calendar; Equal Month calendar}}) คือข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินแบบ[[ปฏิทินสุริยคติ|สุริยคติ]] ออกแบบโดยโมเสส บี. คอตส์เวิร์ธ และนำเสนอเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2448<ref>Moses B. Cotsworth, ''The rational almanac: tracing the evolution of modern almanacs from ancient ideas of time, and suggesting improvements'' (Acomb, England:Cotsworth, 1905)</ref> ซึ่งข้อเสนอนี้จะแบ่งปีตามสุริยคติออกเป็น 13 เดือน และ 28 วันในแต่ละเดือนอย่างเท่าเทียมกัน เกิดเป็นรูปแบบปฏิทินถาวร (perennial calendar) ที่วันที่จะตรงกับวันในสัปดาห์ตลอดไปในทุก ๆ ปี (เช่น วันที่ 1, 8, 15 และ 22 จะตรงกับวันอาทิตย์เสมอ) อย่างไรก็ตาม ไม่มีประเทศใดนำข้อเสนอนี้ไปปรับใช้อย่างเป็นทางการ มีเพียง[[จอร์จ อีสต์แมน]] นักธุรกิจผู้ก่อตั้งบริษัท[[อีสต์แมนโกดัก]]เท่านั้นที่นำไปปรับใช้กับบริษัทของตนระหว่างปี พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2532<ref name="EASTMAN">Exhibit at [[George Eastman House]], viewed June 2008</ref>
'''ปฏิทินคงที่สากล''' ({{lang-en|International Fixed Calendar}}) หรือชื่ออื่นว่า '''แผนคอตส์เวิร์ธ''' '''แผนอีสต์แมน''' '''ปฏิทินสิบสามเดือน''' หรือ '''ปฏิทินเดือนเท่า''' ({{lang-en|Cotsworth plan; Eastman plan; 13 Month calendar; Equal Month calendar}}) คือข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินแบบ[[ปฏิทินสุริยคติ|สุริยคติ]] ออกแบบโดยโมเสส บี. คอตส์เวิร์ธ และนำเสนอเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2448<ref>Moses B. Cotsworth, ''The rational almanac: tracing the evolution of modern almanacs from ancient ideas of time, and suggesting improvements'' (Acomb, England:Cotsworth, 1905)</ref> ซึ่งข้อเสนอนี้จะแบ่งปีตามสุริยคติออกเป็น 13 เดือน และ 28 วันในแต่ละเดือนอย่างเท่าเทียมกัน เกิดเป็นรูปแบบปฏิทินถาวร (perennial calendar) ที่วันที่จะตรงกับวันในสัปดาห์ตลอดไปในทุก ๆ ปี (เช่น วันที่ 1, 8, 15 และ 22 จะตรงกับวันอาทิตย์เสมอ) อย่างไรก็ตาม ไม่มีประเทศใดนำข้อเสนอนี้ไปปรับใช้อย่างเป็นทางการ มีเพียง[[จอร์จ อีสต์แมน]] นักธุรกิจผู้ก่อตั้งบริษัท[[อีสต์แมนโกดัก]]เท่านั้นที่นำไปปรับใช้กับบริษัทของตนระหว่างปี พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2532<ref name="EASTMAN">Exhibit at [[George Eastman House]], viewed June 2008</ref>


== กฎเกณฑ์ ==
= กฎเกณฑ์ของปฎิทินสากลโลก =
ในหนึ่งปีปฏิทินจะแบ่งออกเป็น 12 เดือน เดือนละ 30 วันเท่า ๆ กัน ทำให้ในแต่ละเดือนมี 4 สัปดาห์เท่ากันด้วย แต่เมื่อนำมาเทียบกับจำนวนวันในหนึ่งปีตาม[[ปฏิทินเกรโกเรียน]]แบบเดิมซึ่งมี 360วัน จะพบว่าจำนวนวันตามปฏิทินนี้มีอยู่เพียง 12× 30 = 360วัน เดือนละ30วัน สัปดาห์ละ7วันเรียกหนึ่งอาทิตย์ เริ่มวันแรกวัน จันทร์-วันอาทิตย์วันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห์
ในหนึ่งปีปฏิทินจะแบ่งออกเป็น 13 เดือน เดือนละ 28 วันเท่า ๆ กัน ทำให้ในแต่ละเดือนมี 4 สัปดาห์เท่ากันด้วย แต่เมื่อนำมาเทียบกับจำนวนวันในหนึ่งปีตาม[[ปฏิทินเกรโกเรียน]]แบบเดิมซึ่งมี 365 วัน จะพบว่าจำนวนวันตามปฏิทินนี้มีอยู่เพียง 13 × 28 = 364 วัน เท่านั้น คอตส์เวิร์ธจึงได้เพิ่มอีกหนึ่งวันเข้าไปท้ายปีและกำหนดให้เป็นวันหยุด (หลังวันที่ 28 ธันวาคม หรือเทียบเท่าวันที่ 31 ธันวาคมในปฏิทินเกรโกเรียน) และจะเรียกวันสุดท้ายนี้ว่า ''วันปี'' (Year Day) ในบางครั้ง ซึ่งวันสุดท้ายนี้จะไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของสัปดาห์ใดเลย เสมือนเป็นวันที่แยกออกมาต่างหากจากวันที่อื่น ๆ ของปี เป็นการแก้ปัญหาจำนวนวันไม่เท่ากับปฏิทินแบบเดิมในที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละปีจะเริ่มต้นวันที่ใหม่เหมือนกับปฏิทินเกรโกเรียนทุกประการ จึงทำให้วันที่ 1 มกราคม - 28 มกราคม ของทุกปีตรงกับปฏิทินเกรโกเรียนด้วยเช่นกัน<ref>See the table in Cotsworth, ''Rational Almanac'', p. i.</ref> นอกจากนี้คอตส์เวิร์ธยังคงชื่อและลำดับเดือนทั้งสิบสองเอาไว้เช่นเดิม แต่จะแทรกเดือนใหม่เพิ่มเข้าไประหว่างเดือนมิถุนายนและเดือนกรกฎาคม และเรียกเดือนใหม่นี้ว่า ''โซล'' (Sol) หรือ ''สุริยาพันธ์'' (สุริย + อาพันธ์) ตามหลักการเรียกชื่อเดือนในภาษาไทย ซึ่งเป็นการอ้างอิงถึง[[ดวงอาทิตย์]] เนื่องจากเดือนดังกล่าวอยู่ในช่วงกลางฤดูร้อน (ใน[[ซีกโลกเหนือ]]ซึ่งผู้ออกแบบอาศัยอยู่) และเป็นช่วงเวลาครึ่งปีที่เกิดปรากฏการณ์[[อายัน]] ([[ครีษมายัน]]) พอดิบพอดี<ref>Cotsworth suggested "Mid" as an alternative name. See his address in Royal Society of Canada, ''Proceedings and Transactions of the Royal Society of Canada,'' 3d series, vol. II (Ottawa: James Hope & Son, 1908), pp. 211-41 at 231.</ref>
1 มกราคม=30วัน

2 กุมภาพันธ์=30วัน
ในปฏิทินคงที่สากล [[ปีอธิกสุรทิน]]จะมีจำนวนวันทั้งสิ้น 366 วัน และมีกฎเกณฑ์ตามแบบปฏิทินเกรโกเรียนทุกประการ ดังนั้นปีอธิกสุรทินจึงจะตกใน[[ปีปฏิทิน]] ([[คริสต์ศักราช]]) ที่หารด้วยสี่ลงตัว แต่ไม่ใช่ปีที่ด้วยหารหนึ่งร้อยลงตัว ยกเว้นแต่เพียงปีที่หารด้วยสี่ร้อยลงตัวเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000 ซึ่งหารด้วยสี่ร้อยลงตัว) จึงถือเป็นปีอธิกสุรทิน ในขณะที่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1800) และ พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) ซึ่งหารด้วยสี่ร้อยไม่ลงตัว จะถือเป็น[[ปีปกติสุรทิน]] ทั้งนี้ในปฏิทินคงที่สากลจะแทรก[[อธิกวาร]]เป็นวันที่ 29 มิถุนายน หรือระหว่างวันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน และวันอาทิตย์ที่ 1 สุริยาพันธ์
3 มีนาคม=30วัน

4 เมษายน=30วัน
ในแต่ละเดือนจะเริ่มต้นด้วยวันอาทิตย์และสิ้นสุดลงในวันเสาร์ต่อเนื่องกันไปเช่นนี้ และเริ่มต้นวันแรกของทุก ๆ ปีด้วยวันอาทิตย์เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ''วันปี'' และอธิกวารจะไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัปดาห์หรือวันในสัปดาห์ แต่จะอยู่ถัดจากวันเสาร์และตามด้วยวันอาทิตย์
5 พฤษภาคม=30วัน

6 มิถุนายน=30วัน
จากกฎเกณฑ์ข้างต้นสามารถเรียบเรียงปฏิทินคงที่สากลในหนึ่งปีปฏิทินได้ ดังนี้
7 กรกฎาคม=30วัน

8 สิงหาคม=30วัน
{|class="wikitable" width="1200px"
9 กันยายน=30วัน
|-
10 ตุลาคม=30วัน
!scope="col" colspan="30" | ปฏิทินคงที่สากล
11พศจิกายน=30วัน
|-
12 ธันวาคม=30วัน
!scope="col" rowspan="2" width="8%" | เดือน
ภิเภก เทพรักษา
!scope="col" colspan="7" | สัปดาห์ที่ 1
!scope="col" colspan="7" | สัปดาห์ที่ 2
!scope="col" colspan="7" | สัปดาห์ที่ 3
!scope="col" colspan="7" | สัปดาห์ที่ 4
!scope="col" rowspan="2" width="8%" | ส่วนเกินสัปดาห์
|-
! width="3%" | อา.
! width="3%" | จ.
! width="3%" | อ.
! width="3%" | พ.
! width="3%" | พฤ.
! width="3%" | ศ.
! width="3%" | ส.
! width="3%" | อา.
! width="3%" | จ.
! width="3%" | อ.
! width="3%" | พ.
! width="3%" | พฤ.
! width="3%" | ศ.
! width="3%" | ส.
! width="3%" | อา.
! width="3%" | จ.
! width="3%" | อ.
! width="3%" | พ.
! width="3%" | พฤ.
! width="3%" | ศ.
! width="3%" | ส.
! width="3%" | อา.
! width="3%" | จ.
! width="3%" | อ.
! width="3%" | พ.
! width="3%" | พฤ.
! width="3%" | ศ.
! width="3%" | ส.
|- align="center"
| มกราพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
| rowspan="5" | -
|- align="center"
| กุมภาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| มีนาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| เมษาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| พฤษภาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| มิถุนาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
| 29 ([[อธิกวาร]])*
|- align="center"
| bgcolor="#ffffe0" | ''สุริยาพันธ์''
| bgcolor="#ffffe0" | 1 || bgcolor="#ffffe0" | 2 || bgcolor="#ffffe0" | 3 || bgcolor="#ffffe0" | 4
| bgcolor="#ffffe0" | 5 || bgcolor="#ffffe0" | 6 || bgcolor="#ffffe0" | 7 || bgcolor="#ffffe0" | 8
| bgcolor="#ffffe0" | 9 || bgcolor="#ffffe0" | 10 || bgcolor="#ffffe0" | 11 || bgcolor="#ffffe0" | 12
| bgcolor="#ffffe0" | 13 || bgcolor="#ffffe0" | 14 || bgcolor="#ffffe0" | 15 || bgcolor="#ffffe0" | 16
| bgcolor="#ffffe0" | 17 || bgcolor="#ffffe0" | 18 || bgcolor="#ffffe0" | 19 || bgcolor="#ffffe0" | 20
| bgcolor="#ffffe0" | 21 || bgcolor="#ffffe0" | 22 || bgcolor="#ffffe0" | 23 || bgcolor="#ffffe0" | 24
| bgcolor="#ffffe0" | 25 || bgcolor="#ffffe0" | 26 || bgcolor="#ffffe0" | 27 || bgcolor="#ffffe0" | 28
| rowspan="6" | -
|- align="center"
| กรกฎาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28

|- align="center"
| สิงหาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| กันยาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| ตุลาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| พฤศจิกาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
|- align="center"
| ธันวาพันธ์
| 1 || 2 || 3 || 4 || 5 || 6 || 7
| 8 || 9 || 10 || 11 || 12 || 13 || 14
| 15 || 16 || 17 || 18 || 19 || 20 || 21
| 22 || 23 || 24 || 25 || 26 || 27 || 28
| 29 (''วันปี'')
|- align="center" bgcolor="#f2f2f2"
| หมายเหตุ
| colspan="4" | ''อา. = อาทิตย์''
| colspan="4" | ''จ. = จันทร์''
| colspan="4" | ''อ. = อังคาร''
| colspan="4" | ''พ. = พุธ''
| colspan="4" | ''พฤ. = พฤหัสบดี''
| colspan="4" | ''ศ. = ศุกร์''
| colspan="4" | ''ส. = เสาร์''
| ''*เฉพาะ[[ปีอธิกสุรทิน]]''
|}

สามารถเทียบเคียงเดือนตามปฏิทินคงที่สากลกับวันที่ตามปฏิทินเกรโกเรียนแบบเดิมได้ ดังนี้
{| class="wikitable" width="1200px"
|-
!scope="col" rowspan="3" width="20%" | เดือนและส่วนเกินสัปดาห์</br>ตามปฏิทินคงที่สากล
!scope="col" colspan="4" | วันที่เทียบเคียงตามปฏิทินเกรโกเรียน
|-
!scope="col" colspan="2" | ปีปกติสุรทิน
!scope="col" colspan="2" | ปีอธิกสุรทิน
|-
!scope="col" width="20%" | เริ่มต้น
!scope="col" width="20%" | สิ้นสุด
!scope="col" width="20%" | เริ่มต้น
!scope="col" width="20%" | สิ้นสุด
|- align="center"
| มกราพันธ์
| 1 มกราคม
| 28 มกราคม
| 1 มกราคม
| 28 มกราคม
|- align="center"
| กุมภาพันธ์
| 29 มกราคม
| 25 กุมภาพันธ์
| 29 มกราคม
| 25 กุมภาพันธ์
|- align="center"
| มีนาพันธ์
| 26 กุมภาพันธ์
| 25 มีนาคม
| 26 กุมภาพันธ์
| 24 มีนาคม*
|- align="center"
| เมษาพันธ์
| 26 มีนาคม
| 22 เมษายน
| 25 มีนาคม*
| 21 เมษายน*
|- align="center"
| พฤษภาพันธ์
| 23 เมษายน
| 20 พฤษภาคม
| 22 เมษายน*
| 19 พฤษภาคม*
|- align="center"
| มิถุนาพันธ์
| 21 พฤษภาคม
| 17 มิถุนายน
| 20 พฤษภาคม*
| 16 มิถุนายน*
|- align="center" bgcolor="#ffffe0"
| ''อธิกวาร''
| colspan="2" | -
| colspan="2" | 17 มิถุนายน
|- align="center"
| ''สุริยาพันธ์''
| 18 มิถุนายน
| 15 กรกฎาคม
| 18 มิถุนายน
| 15 กรกฎาคม
|- align="center"
| กรกฎาพันธ์
| 16 กรกฎาคม
| 12 สิงหาคม
| 16 กรกฎาคม
| 12 สิงหาคม
|- align="center"
| สิงหาพันธ์
| 13 สิงหาคม
| 9 กันยายน
| 13 สิงหาคม
| 9 กันยายน
|- align="center"
|กันยาพันธ์
| 10 กันยายน
| 7 ตุลาคม
| 10 กันยายน
| 7 ตุลาคม
|- align="center"
| ตุลาพันธ์
| 8 ตุลาคม
| 4 พฤศจิกายน
| 8 ตุลาคม
| 4 พฤศจิกายน
|- align="center"
| พฤศจิกาพันธ์
| 5 พฤศจิกายน
| 2 ธันวาคม
| 5 พฤศจิกายน
| 2 ธันวาคม
|- align="center"
| ธันวาพันธ์
| 3 ธันวาคม
| 30 ธันวาคม
| 3 ธันวาคม
| 30 ธันวาคม
|- align="center" bgcolor="#ffffe0"
| ''วันปี''
| colspan="4" | 31 ธันวาคม
|- bgcolor="#f2f2f2"
| align="center" | หมายเหตุ
| colspan="4" width="1014px" | ''*สำหรับช่วงระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายนในปีอธิกสุรทิน วันที่ตามปฏิทินคงที่สากลเมื่อเทียบกับปฏิทินเกรโกเรียนจะเร็วขึ้นจากปีปกติสุรทินอยู่หนึ่งวัน เนื่องจากได้นับรวมอธิกวารตามปฏิทินเกรโกเรียน (29 กุมภาพันธ์) ไปก่อนแล้ว แต่หลังเดือนมิถุนายนจะนับรวมอธิกวาร (29 มิถุนาพันธ์) เข้าใป จึงทำให้วันที่เท่ากับปีปกติสุรทินตามเดิม''
|}


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:10, 17 เมษายน 2564

ปฏิทินคงที่สากล (อังกฤษ: International Fixed Calendar) หรือชื่ออื่นว่า แผนคอตส์เวิร์ธ แผนอีสต์แมน ปฏิทินสิบสามเดือน หรือ ปฏิทินเดือนเท่า (อังกฤษ: Cotsworth plan; Eastman plan; 13 Month calendar; Equal Month calendar) คือข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินแบบสุริยคติ ออกแบบโดยโมเสส บี. คอตส์เวิร์ธ และนำเสนอเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2448[1] ซึ่งข้อเสนอนี้จะแบ่งปีตามสุริยคติออกเป็น 13 เดือน และ 28 วันในแต่ละเดือนอย่างเท่าเทียมกัน เกิดเป็นรูปแบบปฏิทินถาวร (perennial calendar) ที่วันที่จะตรงกับวันในสัปดาห์ตลอดไปในทุก ๆ ปี (เช่น วันที่ 1, 8, 15 และ 22 จะตรงกับวันอาทิตย์เสมอ) อย่างไรก็ตาม ไม่มีประเทศใดนำข้อเสนอนี้ไปปรับใช้อย่างเป็นทางการ มีเพียงจอร์จ อีสต์แมน นักธุรกิจผู้ก่อตั้งบริษัทอีสต์แมนโกดักเท่านั้นที่นำไปปรับใช้กับบริษัทของตนระหว่างปี พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2532[2]

กฎเกณฑ์ของปฎิทินสากลโลก

ในหนึ่งปีปฏิทินจะแบ่งออกเป็น 12 เดือน เดือนละ 30 วันเท่า ๆ กัน ทำให้ในแต่ละเดือนมี 4 สัปดาห์เท่ากันด้วย แต่เมื่อนำมาเทียบกับจำนวนวันในหนึ่งปีตามปฏิทินเกรโกเรียนแบบเดิมซึ่งมี 360วัน จะพบว่าจำนวนวันตามปฏิทินนี้มีอยู่เพียง 12× 30 = 360วัน เดือนละ30วัน สัปดาห์ละ7วันเรียกหนึ่งอาทิตย์ เริ่มวันแรกวัน จันทร์-วันอาทิตย์วันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห์ 1 มกราคม=30วัน 2 กุมภาพันธ์=30วัน 3 มีนาคม=30วัน 4 เมษายน=30วัน 5 พฤษภาคม=30วัน 6 มิถุนายน=30วัน 7 กรกฎาคม=30วัน 8 สิงหาคม=30วัน 9 กันยายน=30วัน 10 ตุลาคม=30วัน 11พศจิกายน=30วัน 12 ธันวาคม=30วัน ภิเภก เทพรักษา

ประวัติ

แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับปฏิทินถาวร 13 เดือน ถือกำเนิดขึ้นมาอย่างช้าที่สุดก็ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งแต่ละแนวคิดมีรูปแบบต่างกันหลัก ๆ ตรงที่ชื่อของเดือนและการจัดตำแหน่งอธิกวารในปีอธิกสุรทิน

ในปี พ.ศ. 2288 ชาวอาณานิคมอเมริกันจากแมริแลนด์นามว่า ฮิวจ์ โจนส์ ซึ่งใช้นามปากกาว่า ไฮรอสซา แอป-อิกซิม (Hirossa Ap-Iccim) ได้เสนอ ปฏิทินจอร์เจียน[3] อันเป็นการตั้งชื่อตามพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร กำหนดให้มีทั้งหมด 13 เดือน เดือนที่สิบสามตั้งชื่อว่าเดือน จอร์เจียน และให้วันที่ 365 ของทุกปีเป็นวันคริสต์มาส แต่การใส่อธิกวารกลับมีกฎที่แตกต่างจากปฏิทินเกรโกเรียน ส่วนวันขึ้นปีใหม่จะถือเอาช่วงใกล้เหมายันเป็นหลัก ทั้งนี้รูปแบบปรับปรุงที่เผยแพร่ในปี พ.ศ. 2296 ได้เปลี่ยนชื่อเดือนทั้งหมด 13 เดือน ไปใช้ชื่อตามนักบุญในศาสนาคริสต์แทน

ในปี พ.ศ. 2392 นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส โอกุสต์ ก็องต์ ได้เสนอปฏิทินสิบสามเดือน ปฏิทินปฏิฐานนิยม (Positivist Calendar) เช่นกัน โดยตั้งชื่อเดือนทั้งหมดตามบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ไล่ตั้งแต่ โมเสส, โฮเมอร์, อริสโตเติล, อคีมีดีส, ซีซาร์, เซนต์พอล, ชาร์เลอมาญ, ดันเต, กูเตนแบร์ก, เชกสเปียร์, เดการ์ต, เฟรเดอริก และบีชาต์ ส่วนวันในสัปดาห์จะตั้งชื่ออุทิศตาม "นักบุญ" ในศาสนามนุษยชาติ (Religion of Humanity) ตามลัทธิปฏิฐานนิยม (Positivism) ซึ่งปฏิทินรูปแบบนี้จะเริ่มสัปดาห์ เดือน และปีในวันจันทร์แทนที่วันอาทิตย์ นอกจากนี้ก็องต์ยังได้เริ่มนับศักราชใหม่ตามปฏิทินของตนเป็นปีที่ 1 หรือเท่ากับปี พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) ตามปฏิทินเกรโกเรียน ส่วนวันที่เกินมาหนึ่งวัน (ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัปดาห์หรือเดือนใด) จะใช้รูปแบบเดียวกับปฏิทินจอร์เจียนของโจนส์ คือกำหนดให้วันที่ 365 ของทุกปีเป็นวันเทศกาล และจัดวันเฉลิมฉลอง (feast day) ถัดมาอีกหนึ่งวัน (วันที่ 366) เฉพาะในปีอธิกสุรทินเท่านั้น

อนึ่ง ไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าโมเสส คอตส์เวิร์ธ คุ้นเคยกับรูปแบบของปฏิทินสิบสามเดือนที่มีอยู่ก่อนหน้าปฏิทินคงที่สากลของเขามาก่อนหรือไม่ แต่คอตส์เวิร์ธได้ยึดรูปแบบตามปฏิทินของโจนส์ที่ใช้วันที่ 365 ของปีเป็นวันคริสต์มาส เขาจึงเสนอว่าวันสุดท้ายของปีดังกล่าวควรให้ถือเป็นวันอาทิตย์ แต่วันปีใหม่ซึ่งเป็นวันถัดมาก็ถือเป็นวันอาทิตย์ด้วยเช่นกัน ดังนั้นจึงเรียกวันสุดท้ายของปีนี้ว่า วันอาทิตย์ซ้อน (Double Sunday) ได้อีกชื่อหนึ่ง[4] ทั้งนี้เนื่องจากเป้าหมายของคอตส์เวิร์ธคือการออกแบบปฏิทินให้เรียบง่ายและสมเหตุสมผล (จำนวนวันในแต่ละเดือนเท่ากัน) สำหรับการใช้งานในทางธุรกิจและอุตสาหกรรมมากขึ้นกว่าเดิม เขาจึงยังคงเอารูปแบบและกฎเกณฑ์หลายอย่างมาจากปฏิทินเกรโกเรียนมาใช้ให้สอดคล้องกับเป้าหมายนี้ เช่น การคงชื่อและลำดับเดือนไว้เช่นเดิม การกำหนดให้แต่ละสัปดาห์เริ่มต้นที่วันอาทิตย์ (ยังคงใช้รูปแบบนี้ในสหรัฐ แต่ในประเทศอื่น ๆ ส่วนมากและตามมาตรฐานการนับสัปดาห์ของไอเอสโอถือว่าเป็นรูปแบบที่ไม่ปกติ เนื่องจากกำหนดให้เริ่มต้นสัปดาห์ใหม่ด้วยวันจันทร์) และเกณฑ์การตัดสินปีอธิกสุรทิน

ในปี พ.ศ. 2466 ได้มีการก่อตั้งสมาคมปฏิทินคงที่สากล (International Fixed Calendar League) ขึ้นเพื่อสนับสนุนและเผยแพร่ข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินของคอตส์เวิร์ธ หลังจากที่สันนิบาตชาติได้เลือกข้อเสนอดังกล่าวในฐานะรูปแบบที่ดีที่สุดจากทั้งหมด 130 รูปแบบที่เสนอมา[5] โดยมีเซอร์ สแตนฟอร์ด เฟลมมิง นักประดิษฐ์และผู้อยู่เบื้องหลังการผลักดันให้ทั่วโลกริเริ่มใช้เวลามาตรฐาน เป็นประธานสมาคมคนแรก[6] และเปิดสำนักงานในกรุงลอนดอนและรอเชสเตอร์ (สหรัฐ) ในภายหลัง มีผู้สนับสนุนคนสำคัญคือ จอร์จ อีสต์แมนจากบริษัทอีสต์แมนโกดัก ซึ่งเขาได้นำปฏิทินนี้ไปปรับใช้ที่บริษัทของตน อย่างไรก็ตาม สมาคมปฏิทินคงที่สากลยุติการดำเนินงานทั้งหมดลงหลังจากท้ายที่สุดแล้วสันนิบาตชาติมีมติไม่รับแผนการปฏิรูปปฏิทินนี้ในปี พ.ศ. 2480[7]

ข้อดี

ข้อดีหลายประการของปฏิทินคงที่สากลคือลักษณะการจัดเรียงและรูปแบบ ดังนี้

  • หน่วยย่อยของปีมีลักษณะคงที่และเป็นระบบอย่างมาก ช่วยให้สามารถใช้งานทางสถิติและจัดรูปแบบปฏิทินในแต่ละปีได้โดยง่าย กล่าวคือ
    • ทุก ๆ ปีมีทั้งหมด 13 เดือน และรวมเป็นปีละ 52 สัปดาห์เท่ากัน
    • แต่ละเดือนแบ่งเป็น 28 วัน และรวมเป็นเดือนละ 4 สัปดาห์เท่ากัน
    • ทุก ๆ วันของเดือนจะตรงกับวันในสัปดาห์เดิมเสมอ เช่น วันที่ 17 ของทุกเดือนจะตรงกับวันอังคาร เป็นต้น
  • รูปแบบการจัดเรียงปฏิทินนี้จะเหมือนกันทุกปี (คงที่) ไม่เหมือนกับปฏิทินเกรโกเรียนที่รูปแบบจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละปี ดังนั้นการจัดตารางเวลาสำหรับใช้ในองค์กร สถาบัน และอุตสาหกรรมต่าง ๆ จึงง่ายขึ้น สามารถวางแผนล่วงหน้าได้ยาวนานขึ้น เช่น รอบการผลิตในอนาคตที่ยาวขึ้น เป็นต้น
  • วันหยุดเทศกาลซึ่งเปลี่ยนวันที่ไปมาหรือขึ้นอยู่กับลำดับประจำเดือนของวันในสัปดาห์ เช่น วันขอบคุณพระเจ้าในสหรัฐ (พฤหัสบดีที่สี่ของเดือนพฤศจิกายน) หรือวันเด็กแห่งชาติในไทย (เสาร์ที่สองของเดือนมกราคม) จะมีวันที่คงที่แน่นอนในทุก ๆ ปี โดยที่ยังสามารถขึ้นอยู่กับลำดับประจำเดือนของวันในสัปดาห์ได้ตามเดิม
  • การเปรียบเทียบเชิงสถิติระหว่างเดือนจะถูกต้องแม่นยำขึ้น เนื่องจากในแต่ละเดือนจะมีจำนวนวันทำงานและวันหยุดสุดสัปดาห์ที่เท่ากัน หรือสามารถเปรียบเทียบกันแบบไตรมาสสิบสามสัปดาห์ได้ (ทุก ๆ 13 สัปดาห์นับเป็น 1 ไตรมาส)
  • ผู้สนับสนุนการปฏิรูปนี้เสนอว่าการแบ่งปีออกเป็น 13 เดือนซึ่งมีจำนวนวันเท่า ๆ กัน มีข้อได้เปรียบดีกว่าการแบ่งปีออกเป็น 12 เดือนแต่จำนวนวันไม่เท่ากัน ในแง่ของกระแสเงินสดที่ไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ[8]

ข้อเสีย

  • ไม่สามารถแบ่งส่วนเดือนทั้ง 13 ได้อย่างเท่า ๆ กันเนื่องจากเป็นจำนวนเฉพาะ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการนำไปใช้งานเนื่องจากปัจจุบันนิยมใช้วิธีแบ่งส่วนเดือนตามระบบไตรมาสกันอย่างแพร่หลาย จึงต้องเปลี่ยนไปใช้ระบบไตรมาสสิบสามสัปดาห์แทน แต่จะทำให้เกิดปัญหาว่าในแต่ละไตรมาสเหลื่อมล้ำกับเดือน (1 ไตรมาสจะเท่ากับ 3.25 เดือน) และไม่สิ้นสุดรอบพร้อมกัน (ยกเว้นไตรมาสสุดท้าย)
  • กลุ่มศาสนิกชนชาวยิว ชาวคริสต์ และมุสลิมบางส่วนคัดค้านปฏิทินนี้ เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางศาสนาของตนที่จะจัดขึ้นทุก ๆ 7 วัน เช่น การละหมาดทุกวันศุกร์ของอิสลาม หรือการเข้าโบสถ์ทุกวันอาทิตย์ของคริสต์ ทำให้ในแต่ละปีการประกอบศาสนกิจอาจไม่ใช่รอบระยะเวลา 7 วัน เนื่องจากมีวันแทรกเข้ามาสองวัน (อธิกวารและ วันปี) ซึ่งไม่ได้นับรวมอยู่ในวันของสัปดาห์ หากต้องการให้เป็นวันในสัปดาห์เดิมที่ปฏิบัติกันมาก็จะต้องรอเพิ่มอีกหนึ่งวันกลายเป็นรอบ 8 วัน อันเป็นการผิดหลักประเพณีที่ยึดถือมาแต่เดิม ในขณะที่มีการเสนอให้นับรวมอธิกวารและ วันปี เป็นวันประกอบศาสนกิจเพิ่มเติมด้วยเช่นกัน
  • วันเกิด วันครบรอบ หรือวันหยุดเทศกาลอื่น ๆ อาจต้องคำนวณขึ้นใหม่ อันเป็นผลจากการปฏิรูปปฏิทินนี้และทำให้ตรงกับวันในสัปดาห์เช่นเดิมตลอดไปทุก ๆ ปี

อ้างอิง

  1. Moses B. Cotsworth, The rational almanac: tracing the evolution of modern almanacs from ancient ideas of time, and suggesting improvements (Acomb, England:Cotsworth, 1905)
  2. Exhibit at George Eastman House, viewed June 2008
  3. Hirossa Ap-Iccim, "An Essay on the British Computation of Time, Coins, Weights, and Measures" The Gentleman’s Magazine, 15 (1745): 377-379
  4. Cotsworth, The Rational Almanac, p. i.
  5. Duncan Steel, Marking Time: The Epic Quest to Invent the Perfect Calendar (New York: John Wiley & Sons, 2000), p. 309.
  6. Moses Bruine Cotsworth, Calendar Reform (London: The International Fixed Calendar League, 1927), Preface.
  7. See Journal of Calendar Reform vol. 16, no. 4 (1944): 165-66
  8. See Frank Parker Stockbridge, "New Calendar by 1933&#151;Eastman," Popular Science Monthly (June 1929): 32, 131-33; and George Eastman, "The Importance of Calendar Reform to the World of Business," Nation's Business (May 1926): p. 42, 46.

แหล่งข้อมูลอื่น