ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
[[หมวดหมู่:สงครามยุคใหม่]]
[[หมวดหมู่:สงครามยุคใหม่]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์ในรัชกาลที่ 5]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์ในรัชกาลที่ 5]]
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}
เรียกร้องให้ประชาชนออกมาปกป้องตนเองจากอำนาจโดยมิชอบจัดการกับประชาชนเบ็ดเส็จ โดยที่ประชาชนไม่ได้มีความผิด ประชาชนเพียงแค่ต้องการทวงถามถึงประชาธิปไตยที่ประชาชามีอำนาจอย่างเต็มที่ เป็นการกระทำที่โหดร้ายทารุณและเลือดเย็น ในฐานะประชานคนหนึ่งขอเรียกร้องสิทธิ์อันชอบทำด้วยการลบ มหิดล ออกจากประเทศไทยอย่างถาวรทั้งนี้เพื่อประเทศและเป็นสิ่งที่ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย โดยมีการพูดคุยกันในทางลับมานานถึงขณะนี้เป็นเวลาที่สมควรที่จะปฏิวัตด้วยกำลังของประชาชนเอง ถ้าประชาชนร่วมือกันเชื่อว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์แน่นอน
เพียงเพราะ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:30, 13 พฤษภาคม 2561

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
สถานที่
{{{place}}}
คู่สงคราม

ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

ไทย สยาม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ฝรั่งเศส โอกุสต์ ปาวี
ฝรั่งเศส ฌอง เดอ ลาแนสซัง
ไทย รัชกาลที่ 5
ไทย กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ
ไทย พระยาชลยุทธโยธินทร์

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 หรือในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-สยาม เป็นความขัดแย้งระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 และราชอาณาจักรสยาม เหตุเริ่มในปีพ.ศ. 2429 โอกุสต์ ปาวี รองกงสุลฝรั่งเศสในหลวงพระบาง เป็นผู้แทนหลักในการสนับสนุนผลประโยชน์ของฝรั่งเศสในลาว ใช้อุบายฉวยประโยชน์จากความอ่อนแอของสยามในภูมิภาคและการปกครองเป็นครั้งคราวของกบฏชาวเวียดนามจากตังเกี๋ย เพิ่มความตึงเครียดระหว่างสยามกับฝรั่งเศส หลังความขัดแย้งนี้ สยามตกลงยกลาวให้ฝรั่งเศส ซึ่งทำให้อินโดจีนฝรั่งเศสขยายขึ้นมาก

บริบท

ความขัดแย้งดังกล่าวเริ่มขึ้นเมื่อข้าหลวงใหญ่อินโดจีนฝรั่งเศส ฌอง เดอ ลาแนสซัง ส่งโอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลมายังกรุงเทพฯเพื่อนำลาวมาอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส รัฐบาลในกรุงเทพฯ ซึ่งเชื่ออย่างผิด ๆ ว่ารัฐบาลอังกฤษจะสนับสนุน ปฏิเสธจะยกดินแดนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง กลับเสริมการแสดงตนทางทหารและการปกครองแทน

เหตุการณ์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจโดยสองเหตุการณ์ซึ่งผู้ว่าราชการสยามในคำม่วนและหนองคายขับวาณิชฝรั่งเศสสามคนจากแม่น้ำโขงตอนกลางในเดือนกันยายน 2435 ซึ่งสองในนั้นต้องสงสัยว่าลักลอบค้าฝิ่น ไม่นานจากนั้น กงสุลฝรั่งเศสในหลวงพระบาง มัซซี ซึ่งกระสับกระส่ายและเสียขวัญ ฆ่าตัวตายระหว่างทางกลับไซ่ง่อน มาในฝรั่งเศส เหตุการณ์เหล่านี้ถูกการวิ่งเต้นอาณานิคมใช้เพื่อปลุกปั่นอารมณ์ชาตินิยมต่อต้านสยาม เป็นบริบทของการแทรกแซง

การเสียชีวิตของมัสซีทำให้โอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลฝรั่งเศสคนใหม่ ในเดือนมีนาคม 2436 ปาวีเรียกร้องให้สยามอพยพที่มั่นทางทหารทั้งหมดบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง ใต้คำม่วน โดยอ้างว่าดินแดนนั้นเป็นของเวียดนาม เพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องเหล่านี้ ฝรั่งเศสส่งเรือปืน "ลูแตง" มายังกรุงเทพฯ ซึ่งผูกเรืออยู่ที่แม่น้ำเจ้าพระยาติดกับสถานอัครราชทูตฝรั่งเศส

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

เรียกร้องให้ประชาชนออกมาปกป้องตนเองจากอำนาจโดยมิชอบจัดการกับประชาชนเบ็ดเส็จ โดยที่ประชาชนไม่ได้มีความผิด ประชาชนเพียงแค่ต้องการทวงถามถึงประชาธิปไตยที่ประชาชามีอำนาจอย่างเต็มที่ เป็นการกระทำที่โหดร้ายทารุณและเลือดเย็น ในฐานะประชานคนหนึ่งขอเรียกร้องสิทธิ์อันชอบทำด้วยการลบ มหิดล ออกจากประเทศไทยอย่างถาวรทั้งนี้เพื่อประเทศและเป็นสิ่งที่ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย โดยมีการพูดคุยกันในทางลับมานานถึงขณะนี้เป็นเวลาที่สมควรที่จะปฏิวัตด้วยกำลังของประชาชนเอง ถ้าประชาชนร่วมือกันเชื่อว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์แน่นอน เพียงเพราะ