ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิภาพร บุญยะเลี้ยง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
=== ร้องเพลง ===
=== ร้องเพลง ===
กระแต มีผลงานด้านการร้องเพลง โดยมีผลงานชุดแรกที่ร่วมกับเพื่อนของเธอซึ่งใช้ชื่อกลุ่มว่า "ลูกทุ่งโฟร์ทีน" โดยค่าย[[อาร์สยาม]] ซึ่งอยู่ในเครือของ[[บริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น จำกัด (มหาชน)]] ด้วยอัลบั้มที่มีชื่อว่า "ยิ้มแล้วรวย" ซึ่งเพลงที่ทำให้ผู้คนรู้จักเธอคือ "ไม่ได้ตั้งใจดำ" สองปีต่อมาเธอได้ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกโดยใช้ชื่อว่า "เปิดใจสาวแต" ส่งผลให้เธอได้รับรางวัลนักร้องหน้าใหม่ยอดนิยมหลายรายการ<ref name="กระแต" /> จากนั้น เมื่อเธอมีอัลบั้มชุดที่สองซึ่งมีชื่อว่า "ของขวัญจากสาวแต" ซึ่งมีพัฒนาการทางการร้องเพลงและเต้นมากขึ้น ส่งผลให้เธอได้รับเลือกเป็นศิลปินทูตกีฬา ประเภท[[มวยสากล]] จาก[[กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา]]<ref name="กระแต" /> และผลงานเดี่ยวชุดต่อมาคือ "สาวกาดแลง" ซึ่งเพลงโปรโมทแรกของอัลบั้มชุดนี้ซึ่งมีชื่อว่า "จ้างมันเต๊อะ" ได้รับความนิยมอย่างสูง จนกลายเป็นเพลงที่อยู่ในอันดับต้นของรายการวิทยุทั่วประเทศ<ref name="กระแต" /> และในอีก 2 ปีต่อมากระแตก็ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 4 ชื่อว่า "รักนะฉึกฉึก" พร้อมเพลงเปิดตัวซึ่งมีชื่อเดียวกับอัลบั้ม<ref>[http://siamevent.com/all-event/?p=7161 อัลบั้มชุดใหม่]</ref>
กระแต มีผลงานด้านการร้องเพลง โดยมีผลงานชุดแรกที่ร่วมกับเพื่อนของเธอซึ่งใช้ชื่อกลุ่มว่า "ลูกทุ่งโฟร์ทีน" โดยค่าย[[อาร์สยาม]] ซึ่งอยู่ในเครือของ[[บริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น จำกัด (มหาชน)]] ด้วยอัลบั้มที่มีชื่อว่า "ยิ้มแล้วรวย" ซึ่งเพลงที่ทำให้ผู้คนรู้จักเธอคือ "ไม่ได้ตั้งใจดำ" สองปีต่อมาเธอได้ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกโดยใช้ชื่อว่า "เปิดใจสาวแต" ส่งผลให้เธอได้รับรางวัลนักร้องหน้าใหม่ยอดนิยมหลายรายการ<ref name="กระแต" /> จากนั้น เมื่อเธอมีอัลบั้มชุดที่สองซึ่งมีชื่อว่า "ของขวัญจากสาวแต" ซึ่งมีพัฒนาการทางการร้องเพลงและเต้นมากขึ้น ส่งผลให้เธอได้รับเลือกเป็นศิลปินทูตกีฬา ประเภท[[มวยสากล]] จาก[[กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา]]<ref name="กระแต" /> และผลงานเดี่ยวชุดต่อมาคือ "สาวกาดแลง" ซึ่งเพลงโปรโมทแรกของอัลบั้มชุดนี้ซึ่งมีชื่อว่า "จ้างมันเต๊อะ" ได้รับความนิยมอย่างสูง จนกลายเป็นเพลงที่อยู่ในอันดับต้นของรายการวิทยุทั่วประเทศ<ref name="กระแต" /> และในอีก 2 ปีต่อมากระแตก็ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 4 ชื่อว่า "รักนะฉึกฉึก" พร้อมเพลงเปิดตัวซึ่งมีชื่อเดียวกับอัลบั้ม<ref>[http://siamevent.com/all-event/?p=7161 อัลบั้มชุดใหม่]</ref>

== เกียรติประวัติ ==
* พ.ศ. 2539 ถ้วยพระราชทานของ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ]] จากการประกวดรายการลูกทุ่งเยาวชน<ref name="กระแต" />
* รางวัลรองชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] จากรายการลูกทุ่งไทย [[ช่อง 11]] <ref name="กระแต" />
* พ.ศ. 2545 แชมป์ประเทศไทย รุ่น 45 กิโลกรัม<ref name="เกียรติประวัติ" />
* รางวัลนักร้องหน้าใหม่ยอดนิยม ประเภทเพลงลูกทุ่ง จากสตาร์เอนเตอร์เทนเมนท์อะวอร์ด 2007 ของสมาคมนักข่าวบันเทิง<ref name="สัมภาษณ์">[http://music.sanook.com/interview/interview_16338.php เปิดใจ กระแต เจ้าของอัลบั้ม สาวกาดแลง]</ref>
* พ.ศ. 2550 รางวัลศิลปินลูกทุ่งหญิงหน้าใหม่ฝ่ายหญิงยอดนิยม ในงานประกาศผลรางวัลมหานครอะวอร์ด ครั้งที่ 4 ของคลื่นลูกทุ่งมหานคร เอฟเอ็ม.95 เมกะเฮิร์ซ<ref name="สัมภาษณ์" />
* พ.ศ. 2558 รางวัลชมเชยการขับร้องเพลงดีเด่นภาษาไทย ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ<ref name="วัฒนธรรม" />
* พ.ศ. 2559 ดาราอินไซด์อวอร์ด รางวัลนาคราช ครั้งที่ 1 สาขาศิลปินยอดกตัญญูดีเด่นแห่งปี


== ผลงาน==
== ผลงาน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:54, 14 ธันวาคม 2559

นิภาพร บุญยะเลี้ยง
ไฟล์:กระแต อาร์สยาม.jpg
ข้อมูลพื้นฐาน
ชื่อเกิดนิภาพร บุญยะเลี้ยง
เกิด25 สิงหาคม พ.ศ. 2530 (36 ปี)
ที่เกิดจังหวัดลำปาง ประเทศไทย
แนวเพลงลูกทุ่ง, ป๊อป
อาชีพนักร้อง, นักมวยไทย
ค่ายเพลงอาร์สยาม
น้ำหวานน้อย ศ.อาร์สยาม
ชื่อจริงนิภาพร บุญยะเลี้ยง
ฉายาน้ำหวานน้อย ศักดิ์บุญมา
น้ำหวานน้อย ศ.อาร์สยาม
รุ่น45 กก.
เกิด25 สิงหาคม พ.ศ. 2530 (36 ปี)
ไทย จังหวัดลำปาง ประเทศไทย
ชกทั้งหมด48 [1]
แพ้2 [1]

นิภาพร บุญยะเลี้ยง[2][3] หรือ นิภาพร แปงอ้วน[1] ชื่อเล่น กระแต[4] หรือที่รู้จักในชื่อ กระแต อาร์สยาม หรือเดิมว่า กระแต โฟร์ทีน[1] เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2530 (36 ปี) เป็นนักร้องหญิงที่มีชื่อเสียงของไทย และเป็นนักมวยไทยหญิงที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในประเทศญี่ปุ่น[4] อีกทั้งยังเป็นพี่สาวแท้ ๆ ของกระต่าย อาร์สยาม[5]

กระแตจบการศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม[6]

ประวัติ

นิภาพร บุญยะเลี้ยง หรือ กระแต อาร์สยาม เป็นชาวจังหวัดลำปาง[4] เป็นบุตรคนที่สองจากทั้งหมดสี่คนของผิน แปงอ้วน กับปรานอม รอดเลี้ยง มีพี่น้องคือ เกศรินภรณ์ แปงอ้วน, ฐิฆพรณ์ บุญยะเลี้ยง[7] (ชื่อเดิม: คุณหญิง แปงอ้วน) และเรืองเดช แปงอ้วน ตามลำดับ[1]

นิภาพรมีความสนิทสนมกับฐิฆพรณ์ผู้เป็นน้องสาวมากและทั้งสองก็สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุมเช่นกัน[1]

มวยไทย

นิภาพร บุญยะเลี้ยง เข้าร่วมการแข่งขันมวยไทยเนื่องด้วยใจรัก เธอมีค่าตัวในการชกมวยครั้งแรก 600 บาท[8] โดยใช้ชื่อ "น้ำหวานน้อย ศักดิ์บุญมา" และ "น้ำหวานน้อย ศ.อาร์สยาม" ในการแข่งขันมวยไทย ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 เธอชนะคะแนน ฟ้าสั่ง ส.พรานไพร ที่จัดขึ้นในจังหวัดฉะเชิงเทรา ต่อมาในรายการชิงแชมป์มวยไทยหญิงนานาชาติรุ่นฟลายเวท ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เธอได้พบกับฮิซะเอะ วะตะนะเบะ โดยกระแตเป็นฝ่ายแพ้คะแนน ส่วนการแข่งขันที่จัดขึ้นที่เดอะมอลล์งามวงศ์วาน ในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เธอได้พบกับ อายูมิ อินแกรมยิม ซึ่งการแข่งขันในครั้งดังกล่าว กระแตเป็นฝ่ายชนะคะแนน ต่อมา กระแตได้เดินทางไปแข่งขันที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น กระแตได้พบกับคู่ชกที่มีชื่อว่า โอชิมา ชิมากิ ซึ่งการแข่งขันในครั้งนี้ กระแตเป็นฝ่ายชนะคะแนน ประมาณสองเดือนต่อมา ในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ได้มีการแข่งขันที่สนามหลวง กระแตได้พบกับคู่ชกชาวญี่ปุ่นอีกรายที่มีชื่อว่า มาอิโกะ ฮาซูยามา ซึ่งกระแตเป็นฝ่ายชนะด้วยคะแนนเช่นเดียวกัน[8]

ร้องเพลง

กระแต มีผลงานด้านการร้องเพลง โดยมีผลงานชุดแรกที่ร่วมกับเพื่อนของเธอซึ่งใช้ชื่อกลุ่มว่า "ลูกทุ่งโฟร์ทีน" โดยค่ายอาร์สยาม ซึ่งอยู่ในเครือของบริษัท อาร์เอส โปรโมชั่น จำกัด (มหาชน) ด้วยอัลบั้มที่มีชื่อว่า "ยิ้มแล้วรวย" ซึ่งเพลงที่ทำให้ผู้คนรู้จักเธอคือ "ไม่ได้ตั้งใจดำ" สองปีต่อมาเธอได้ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกโดยใช้ชื่อว่า "เปิดใจสาวแต" ส่งผลให้เธอได้รับรางวัลนักร้องหน้าใหม่ยอดนิยมหลายรายการ[6] จากนั้น เมื่อเธอมีอัลบั้มชุดที่สองซึ่งมีชื่อว่า "ของขวัญจากสาวแต" ซึ่งมีพัฒนาการทางการร้องเพลงและเต้นมากขึ้น ส่งผลให้เธอได้รับเลือกเป็นศิลปินทูตกีฬา ประเภทมวยสากล จากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา[6] และผลงานเดี่ยวชุดต่อมาคือ "สาวกาดแลง" ซึ่งเพลงโปรโมทแรกของอัลบั้มชุดนี้ซึ่งมีชื่อว่า "จ้างมันเต๊อะ" ได้รับความนิยมอย่างสูง จนกลายเป็นเพลงที่อยู่ในอันดับต้นของรายการวิทยุทั่วประเทศ[6] และในอีก 2 ปีต่อมากระแตก็ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 4 ชื่อว่า "รักนะฉึกฉึก" พร้อมเพลงเปิดตัวซึ่งมีชื่อเดียวกับอัลบั้ม[9]

ผลงาน

งานเพลง

อัลบั้ม
  • เปิดใจสาวแต (22 มกราคม พ.ศ. 2550)
  • ของขวัญจากสาวแต (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2550)
  • สาวกาดแลง (11 เมษายน พ.ศ. 2551)
  • กระต่าย&กระแต ตีเข่าเขย่าแดนซ์ (28 มกราคม พ.ศ. 2553)
  • รักนะฉึก ฉึก (24 มีนาคม พ.ศ. 2554)
อัลบั้มพิเศษ
  • ชู้ทางไลน์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) (ธามไท-กระแต อาร์ สยาม)
  • เมรี (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558) กระต่าย-กระแต อาร์ สยาม (ชาย เมืองสิงห์)
ซิงเกิ้ลเดี่ยว
  • ตื๊ด (1 สิงหาคม พ.ศ. 2556) กระแต อาร์ สยาม
  • ยิ่งถูกทิ้ง ยิ่งต้องสวย (27 สิงหาคม พ.ศ. 2558) กระแต อาร์ สยาม
  • สะบัด (16 มีนาคม พ.ศ. 2559) กระแต อาร์ สยาม
  • เหวี่ยง (นวดให้นุ่ม) กระแต อาร์ สยาม x หวาย yesmusic ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2559)

งานเพลงในนาม สโมสรชิมิ

  • คึกคัก น่ารักอ่ะ (ร่วมกับ ใบเตย, กระต่าย,กระแต, ลูกตาล, อลิซ ชญาดา, ออม บลูเบอร์รี่, โบว์ บลูเบอร์รี่, หนูเล็ก บลูเบอร์รี่ อาร์ สยาม)
  • ดีใจที่ได้เป็นเพื่อนเธอ (ร่วมกับ ใบเตย, กระต่าย,กระแต, ลูกตาล, อลิซ ชญาดา, ออม บลูเบอร์รี่, โบว์ บลูเบอร์รี่, หนูเล็ก บลูเบอร์รี่ อาร์ สยาม)
  • ไปน่ารักไกล ๆ หน่อย (ร่วมกับ ใบเตย, กระแต, ลูกตาล, อลิซ ชญาดา, อุ้ม กศิญา, เพียว เพียว อาร์ สยาม)
  • ผู้ชายห้ามเข้า (ร่วมกับ ใบเตย, กระแต, ลูกตาล, อลิซ ชญาดา, อุ้ม กศิญา, เพียว เพียว อาร์ สยาม)
  • เห็นแฟนฉันไหม (ร่วมกับ ใบเตย, กระแต, ลูกตาล, อลิซ ชญาดา, อุ้ม กศิญา, เพียว เพียว, ออม บลูเบอร์รี่, หนูเล็ก บลูเบอร์รี่ อาร์ สยาม)
  • โยน (ร่วมกับ ใบเตย, กระแต, ลูกตาล, อลิซ ชญาดา, อุ้ม กศิญา, เพียว เพียว, ออม บลูเบอร์รี่, หนูเล็ก บลูเบอร์รี่ อาร์ สยาม)

ละคร

ปี เรื่อง บทบาท
2554 สวยหมัดสั่ง น้ำหวาน
2555 สวยหมัดสั่ง 2 น้ำหวาน
2556 ราชินีลูกทุ่ง กบ
2558 ลิเกหมัดสั่ง ขนุน

ภาพยนตร์

  • รวมพลคนลูกทุ่งเงินล้าน รับบทเป็น กระแต

โฆษณา

  • กาแฟเพรียวคอฟฟี่

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 แมงกะชอน (มกราคม 2553). "เกาะขอบเวทีชีวิต "กระแต" นักมวย-นักร้องสู้ชีวิต". ชีวิตต้องสู้. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "วธ.ประกาศยกย่อง ๑๔ บุคคลด้านภาษาไทย และรางวัลเพชรในเพลง ๙ ด้าน เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๕๘". กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. ""กระแต" เข้าใจชีวิต ใช้ธรรมะเป็นที่พึ่ง". เดลินิวส์. 13 เมษายน 2557. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 格闘技ウェブマガジンGBR>インタビュー (ญี่ปุ่น)
  5. คู่ซี้พี่น้อง กระแต อาร์ สยาม และ กระต่าย อาร์ สยาม - เพลง - MThai
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 "ของขวัญจากสาวแต" สู่ "สาวกาดแลง"
  7. "อาร์เอสฯ ยกทัพศิลปินสตริง ลูกทุ่ง รวมใจลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ชวนคนไทยระลึกในพระมหากรุณาธิคุณ". อาร์เอส. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. 8.0 8.1 "เปิดใจสาวแต" จากกระแต นิภาพร แปงอ้วน
  9. อัลบั้มชุดใหม่

แหล่งข้อมูลอื่น