ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยิ่งยง ยอดบัวงาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
" สมศรี 1992 " และเพลงนี้นี่เอง ที่ช่วยปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งที่ซบเซาอย่างหนัก ให้กลับมาคึกคักอยู่ได้ จวบจนทุกวันนี้
" สมศรี 1992 " และเพลงนี้นี่เอง ที่ช่วยปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งที่ซบเซาอย่างหนัก ให้กลับมาคึกคักอยู่ได้ จวบจนทุกวันนี้


........................
== ประวัติ ==
หด้ัผก่ด่กด่หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหั่่่่่่่่่่่่ผผผแ่่่่่่่่่ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟำำำำำำำำำำำำำำำำำำำฟ

ประมัน ยอดบัวงาม มีชื่อจริงว่า ประยงค์ บัวงาม เป็นบุตรนายพลอย นางใน บัวงาม เกิดเมื่อ 25 ธ.ค. พ.ศ. 2505 ที่บ้านเลขที่ 39 หมู่ 3 บ้านโคกโพน [[ตำบลกันทรารมย์]] [[อำเภอขุขันธ์]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] ในครอบครัวเกษตรกรที่มีฐานะยากจน เข้ารับการศึกษาในชั้นประถมที่โรงเรียนประชาบาลกันทรารมย์ ต้องหาเช้ากินค่ำ ทำให้ไม่ค่อยมีเวลาเรียนหนังสือ เมื่อต้องออกไปทำงานช่วยครอบครัว จึงต้องเรียนซ้ำชั้น ประยงค์มีพี่น้อง 5 คน สมัยเรียนอยู่ชั้น ป.3 หลังจากที่ได้ดูหนังเรื่อง " นักเลงสามสลึง " ประยงค์เริ่มชอบร้องเพลง และพอถึง ป.6 ก็เริ่มประกวดร้องเพลง หลังจบ ป.6 ประคงได้บวชเป็นสามเณร และระหว่างที่มาเที่ยวที่กรุงเทพ ก็ได้พบกับ "[[ภมร อโนทัย]] " นักแต่งเพลง และนักจัดรายการวิทยุชื่อดังเป็นครั้งแรก

ด้วยความช่วยเหลือของพระที่วัดประยงค์บวช สามเณรประยงค์ได้เรียนต่อจนจบชั้น ม.3 ที่โรงเรียน[[ขุขันราษฎร์บำรุง]] และลาสิกขาบทในปี 2524 เพราะหลงใหลในเสียงของ[[สายัณห์ สัญญา]] จนถึงกับแอบร้องเพลงอยู่บ่อยๆช่วงที่เป็นเณร จากนั้นก็เดินทางเข้ากรุงเทพฯ และมาฝากเนื้อฝากตัวกับภมร แต่ยังไม่ได้รับการตอบรับ จึงไปทำงานเป็นจับกัง และรับจ้าง ก่อนจะกลับบ้านเมื่อท้อแท้ หลังจากหายท้อ เขาก็ลงมากรุงเทพฯอีก โดยไปสมัครเป็นนักร้องตามวงดนตรีต่างๆ และได้ไปอยู่กับวงของคนที่ประยงค์เรียกว่า " เจ๊หมวย " และเปลี่ยนมาใช้ชื่อว่า " เสียงสน มนต์ไพร " จากการตั้งให้ของบรรจง มนต์ไพร
ประมัน ยอดบัวงาม


== ได้อัดแผ่น ==
== ได้อัดแผ่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:31, 28 สิงหาคม 2559

ยิ่งยง ยอดบัวงาม
ชื่อเกิดประยงค์ บัวงาม
เกิด25 ธันวาคม พ.ศ. 2505 (61 ปี)
ที่เกิดบ้านโคกโพน ตำบลกันทรารมย์
อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
แนวเพลงลูกทุ่ง
อาชีพนักร้อง
ช่วงปีพ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน
ค่ายเพลงท็อปไลน์ ไดมอนด์
คู่สมรสยศยา ภูนาแร่ (หย่า)
มณฑาทิพย์ บัวงาม

ยิ่งยง ยอดบัวงาม เป็นนักร้องลูกทุ่งชาย ที่มีผลงานเพลงออกมามากมายหลายชุด นอกจากนั้นเขาก็ยังได้ร่วมแสดงภาพยนตร์และละครอีกหลายเรื่อง ยิ่งยง โด่งดังอย่างมากจากเพลง " สมศรี 1992 " และเพลงนี้นี่เอง ที่ช่วยปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งที่ซบเซาอย่างหนัก ให้กลับมาคึกคักอยู่ได้ จวบจนทุกวันนี้

........................ หด้ัผก่ด่กด่หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหั่่่่่่่่่่่่ผผผแ่่่่่่่่่ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟำำำำำำำำำำำำำำำำำำำฟ

ได้อัดแผ่น

ประยงค์ อยู่กับเจ๊หมวยราว 6 เดือนก็ลาออกเพราะไม่มีงาน เขากลับไปหาภมรอีก ซึ่งภมรก็ได้หางานประเภททำงานบ้านทำสวน แต่เขาก็ทำได้เพียง 2 เดือนก็ลาออก และมาพักช่วยงานภมรอยู่ที่ สถานีวิทยุกรมทหารรักษาดินแดน เขาทำอยู่ที่นี่ได้ 2 ปี ในปี 2528 ภมร ก็ให้เพลงประยงค์มาบันทึกเสียง 2 เพลง คือ " ไอ้หนุ่มเลี้ยงควาย " และ "รัก รัก รัก " ที่ภมร อโนทัย แต่งให้ " ศิริ สินชัย " แต่ศิริร้องไม่ถูกใจ โดยเพลง " ไอ้หนุ่มเลี้ยงควาย " แต่เดิม ภมรตั้งใช้จะให้ใช้ชื่อว่า " สัญญารักมั่น " หลังบันทึกเสียงเสร็จ ภมร ตั้งชื่อให้กับนักร้องใหม่ว่า " ยิ่งยง ยอดบัวงาม "

หลังจากที่เพลงของยิ่งยงถูกเปิดทางวิทยุ คนในวงการหลายคนก็เริ่มถามหาคนที่ร้องเพลงเหล่านี้ และระหว่างที่เพลงเริ่มเป็นที่รู้จัก วันชนะ เกิดดี ก็ได้มาติดต่อให้ยิ่งยงไปร้องเพลงที่คาเฟ่แทนเขา ที่ติดธุระทำผลงานเพลงชุดใหม่ และหลังยิ่งยงได้เข้ามาทำงานที่สถานีวิทยุรักษาดินแดนเต็มตัว เขาก็ถือโอกาสนำผลงานเพลงของตัวเองออกเผยแพร่ทางวิทยุอยู่บ่อยๆ

ต่อมาวันหนึ่ง คุณสากล อนันตวิชัย นักจัดรายการชื่อดังจากภาคใต้ แห่งสถานีวิทยุ จส.2 อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ได้มีโอกาสฟังเพลงของยิ่งยง ก็เกิดชอบใจ และตกลงเป็นนายทุนตั้งวงดนตรีให้ โดยให้ค่าร้องเขาคืนละ 3,000 บาท ทำให้ภมรต้องเร่งทำเพลงเพิ่มให้ยิ่งยงอีก 8 เพลง ก่อนจะนำมารวมตัดเป็นแผ่นเต็มใช่ชื่อว่า " ไอ้หนุ่มเลี้ยงควาย " นับเป็นผลงานชุดแรกของ ยิ่งยง ยอดบัวงาม จากนั้นก็ตามมาด้วยชุด " วิมานรัก " , " ขอบคุณแฟนเพลง " , และ " หนุ่มชาวเรือ "

เดินสาย

หลังเพลงเริ่มติดตลาดทางใต้ ยิ่งยงก็ออกเดินสายทางใต้ และได้รับการต้อนรับเป็นอย่าง ยิ่งยงเดินสายอยู่ราว 6 เดือนก็หยุดวง พร้อมกับมีปัญหากับภมร เรื่องเงินๆทองๆ จากนั้นเขาหันกลับมาร้องเพลงตามคาเฟ่อีกประมาณครึ่งปี พอดี เอกพจน์ วงศ์นาคจะเปิดวง เด๋อ ดอกสะเดา จึงชวนไปอยู่วงเอกพจน์ จากนั้นก็ออกเดินสายกับสายัณห์ สัญญา และพุ่มพวง ดวงจันทร์ หลังจากที่หมดสัญญากับต้นสังกัดเดิม ยิ่งยงก็กลับไปหา ภมรอีกครั้ง

ตำนานสมศรี

จากนั้นทั้งสองก็ตั้งหน้าตั้งตาผลิตผลงานเพลงชุดใหม่ โดยในชุดนี้ ยิ่งยงได้แสดงฝีมือการแต่งเพลงด้วยเพลงหนึ่งชื่อว่าเพลง " ยิ่งยงมาแล้ว " ระหว่างนั้นได้พบกับ ปัญญา กตัญญู ที่เคยร้องเพลงตามคาเฟ่ด้วยกัน และปัญญา ได้มอบเพลง " สมศรีขายตัว "ผลงานประพันธ์ของ วุฒิ วรกานต์ ให้ยิ่งยงเอาไปบันทึกเสียง หลังบันทึกเสียงเสร็จช่วงนั้นเป็นปี 2535 ภมรจึงเปลี่ยนชื่อเพลงนี้เป็น " สมศรี 1992 " และเป็นเพลงแรกของหน้า 2 เพราะไม่มีใครคิดว่ามันจะดังเป็นพลุแตกหลังจากนำออกเผยแพร่ตามสถานีวิทยุ

และนับตั้งแต่นั้นมา ชื่อของ ยิ่งยง ยอดบัวงาม ก็เป็นชื่อของหนึ่งในนักร้องลูกทุ่งที่คนไทยรู้จักกันดี กระแสความโด่งดังของเขา ทำให้มีการผลิตนักร้องลอกเลียนแบบ ชื่อ ยิ่งยง ยอดบัวบาน พร้อมกับผลงานเพลงชุด สมศรีไปญี่ปุ่น

ผลงานเพลงดัง

ผลงานการแสดง

มิวสิควีดีโอ

45]]

ชีวิตส่วนตัว

ยิ่งยง ยอดบัวงาม มีบุตรสองคนที่เกิดกับยศยา ภูนาแร่ คือ พรศิริ[1][2] (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พิมพ์นารา; ชื่อเล่น: น้ำฝน)[3] และวุฒิไกร บัวงาม (มีชื่อในวงการนักร้องว่า อ้น นิธิพัฒน์)[4] ต่อมายิ่งยงได้สมรสกับมณฑาทิพย์ บัวงาม ทั้งคู่มีลูกสาวด้วยกันหนึ่งคน ชื่อศิมลมาศ วิชิต ชื่อเล่น โยโย่[5]

งานเขียน

ประคง เขียนหนังสือออกมาเล่มหนึ่งชื่อ " ประคง คงทน...คนเย้ยคลื่นชีวิต" เพื่อบอกเล่าเรื่องราวชีวิตของเขา

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. "เจ้าของบ้านเช่า-เพื่อนบ้าน บอกลูก "ยิ่งยง" ถูกทุบปางตาย ล่าสุดสามีต่างชาติมีเมียใหม่แล้ว". ASTVผู้จัดการออนไลน์. 28 กรกฎาคม 2556. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "'ยิ่งยง' จูงมือลูกเคลียร์ปัญหา พร้อมช่วยเหลือทุกกรณี". ไทยรัฐ. 31 กรกฎาคม 2556. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "'ยิ่งยง ยอดบัวงาม' ลูกทุ่งดัง ตกใจ! อดีตภรรยาโผล่เรียกร้องให้เลี้ยงดูหลาน ลูกสาววอนเลิกสร้างภาพลบพ่อ". ข่าวสด. 16 ธันวาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. ""ยิ่งยง" ขอเคลียร์ลูกสาวลั่นต้องเลิกแฟนฝรั่งก่อนถึงให้เข้าบ้าน". สยามดารา. 31 กรกฎาคม 2556. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "หอมกลิ่นลูกทุ่ง". สยามดารา. 6 กรกฎาคม 2554. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)