ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูด็อล์ฟ เฮ็ส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Maggyasd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ ผู้นำประเทศ
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146II-849, Rudolf Heß.jpg|thumb|200px|รูดอล์ฟ เฮสส์ เมื่อปี 1933]]
| name = รูดอล์ฟ เฮสส์
| image = Bundesarchiv Bild 146II-849, Rudolf Heß.jpg|thumb|200px
| order = รักษาการฟือแรร์
| order = รักษาการฟือแรร์
| term_start1 = 21 เมษายน 1933
| term_end1 = 12 พฤษภาคม 1941
| 1blankname1 = [[ฟือแรร์]]
| 1namedata1 = [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]
| predecessor1 = ''ไม่มี''
| successor1 = มาติน บอร์มาน (ในตำแหน่ง เสนาบดีพรรคนาซี)
| office2 = ''ผู้นำแห่งไรช์''
| term_start2 = 1933
| term_end2 = 1941
| birth_date = [[26 เมษายน]] [[ค.ศ. 1894]] รูดอล์ฟ วัลเทอ ริชาร์ด เฮสส์
| birth_place = ประเทศ [[อียิปต์]] เมือง [[อเล็กซานเดรีย]]
| death_date = [[17 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1987]] (93 ปี)
| death_place = [[เบอร์ลินตะวันตก]] [[เยอรมนี]]}}
| children = วูลฟ์ รูดิเกอร์ เฮสส์
| alma_mater = มหาวิทยาลัยมิวนิค}}

'''รูดอล์ฟ วัลเทอร์ ริชาร์ด เฮสส์''' (26 เมษายน 1894 – 17 สิงหาคม 1987) เป็นนักการเมืองคนสำคัญในนาซีเยอรมนี ได้รับแต่งตั้งเป็นรอง[[ฟือเรอร์]]ของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ในปี 1933 เขาดำรงตำแหน่งจนปี 1941 เมื่อเขาบินเดี่ยวไป[[ประเทศสกอตแลนด์]]เพื่อพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกจับเป็นนักโทษและสุดท้ายถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพ รับโทษจำคุกตลอดชีวิต
'''รูดอล์ฟ วัลเทอร์ ริชาร์ด เฮสส์''' (26 เมษายน 1894 – 17 สิงหาคม 1987) เป็นนักการเมืองคนสำคัญในนาซีเยอรมนี ได้รับแต่งตั้งเป็นรอง[[ฟือเรอร์]]ของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ในปี 1933 เขาดำรงตำแหน่งจนปี 1941 เมื่อเขาบินเดี่ยวไป[[ประเทศสกอตแลนด์]]เพื่อพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกจับเป็นนักโทษและสุดท้ายถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพ รับโทษจำคุกตลอดชีวิต



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:49, 27 พฤษภาคม 2558

รูดอล์ฟ เฮสส์
รักษาการฟือแรร์
ดำรงตำแหน่ง
21 เมษายน 1933 – 12 พฤษภาคม 1941
ฟือแรร์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ก่อนหน้าไม่มี
ถัดไปมาติน บอร์มาน (ในตำแหน่ง เสนาบดีพรรคนาซี)
ผู้นำแห่งไรช์
ดำรงตำแหน่ง
1933–1941
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด26 เมษายน ค.ศ. 1894 รูดอล์ฟ วัลเทอ ริชาร์ด เฮสส์
ประเทศ อียิปต์ เมือง อเล็กซานเดรีย
เสียชีวิต17 สิงหาคม ค.ศ. 1987 (93 ปี)
เบอร์ลินตะวันตก เยอรมนี

| children = วูลฟ์ รูดิเกอร์ เฮสส์ | alma_mater = มหาวิทยาลัยมิวนิค}}

รูดอล์ฟ วัลเทอร์ ริชาร์ด เฮสส์ (26 เมษายน 1894 – 17 สิงหาคม 1987) เป็นนักการเมืองคนสำคัญในนาซีเยอรมนี ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1933 เขาดำรงตำแหน่งจนปี 1941 เมื่อเขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์เพื่อพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกจับเป็นนักโทษและสุดท้ายถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพ รับโทษจำคุกตลอดชีวิต

เฮสส์สมัครเข้าเป็นทหารในกรมทหารปืนใหญ่สนามบาวาเรียที่ 7 เป็นทหารราบเมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติ เขาได้รับบาดเจ็บหลายครั้งระหว่างสงคราม และได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ชั้นสองในปี 1915 ไม่นานก่อนสงครามยุติ เฮสส์ขึ้นทะเบียนเพื่อฝึกเป็นนักบิน แต่มิได้ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทนี้ เขาออกจากกองทัพในเดือนธันวาคม 1918 ด้วยยศร้อยโทสำรอง (Leutnant der Reserve)

ในฤดูใบไม้ร่วงปี 1919 เฮสส์สมัครเรียนในมหาวิทยาลัยมิวนิก ที่ซึ่งเขาศึกษาวิชาภูมิรัฐศาสตร์กับคาร์ล เฮาโชแฟร์ ผู้สนับสนุนมโนทัศน์เลเบนซเราม์ ("ที่อยู่อาศัย") ซึ่งต่อมากลายเป็นเสาหลักของอุดมการณ์พรรคนาซี เฮสส์เข้าร่วมพรรคนาซีเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1920 และร่วมกับฮิตเลอร์ก่อกบฏโรงเบียร์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 1923 อันเป็นความพยายามของนาซีที่ล้มเหลวเพื่อยึดรัฐบาลบาวาเรีย ระหว่างรับโทษจำคุกจากความพยายามรัฐประหารนี้ เฮสส์ช่วยฮิตเลอร์เขียนงานของเขา ไมน์คัมพฟ์ ซึ่งต่อมากลายเป็นรากฐานแนวนโยบายของพรรคนาซี

เมื่อนาซียึดอำนาจในปี 1933 เฮสส์ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของพรรคนาซีและได้รับตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์ เขาเป็นผู้ทรงอำนาจสูงสุดอันดับสามในประเทศเยอรมนี รองแต่เพียงฮิตเลอร์และแฮร์มันน์ เกอริง นอกเหนือจากการปรากฏตัวแทนฮิตเลอร์ในการปราศรัยและชุมนุม เฮสส์ลงนามผ่านกฎหมายหลายฉบับซึ่งรวมกฎหมายเนือร์นแบร์กปี 1935 ซึ่งถอดสิทธิของชาวยิวในประเทศเยอรมนีนำไปสู่ฮอโลคอสต์

เฮสส์ยังสนใจการบิน โดยเรียนบินอากาศยานที่ซับซ้อนขึ้นซึ่งมาพัฒนาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1941 เขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์ ซึ่งเขาหวังจัดการเจรจาสันติภาพกับดุ๊กแฮมิลตัน ซึ่งเขาเชื่อว่าเป็นคนสำคัญในฝ่ายค้านของรัฐบาลอังกฤษ เฮสส์ถูกจับกุมทันทีที่มาถึงและถูกอังกฤษควบคุมตัวจนสิ้นสงคราม เมื่อเขากลับประเทศเยอรมนีเพื่อรับการไต่สวนในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กอาชญากรสงครามคนสำคัญในปี 1946 ตลอดการไต่สวน เขาอ้างว่าป่วยเป็นภาวะเสียความจำ แต่ภายหลังรับว่าเป็นอุบาย เฮสส์ถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพและคบคิดกับผู้นำเยอรมันอื่นเพื่อก่ออาชญากรรมและถูกย้ายไปเรือนจำซแพนเดาในปี 1947 ซึ่งเขารับโทษจำคุกตลอดชีวิต ความพยายามซ้ำ ๆ ของสมาชิกครอบครัวและนักการเมืองคนสำคัญเพื่อให้ปล่อยตัวเขาถูกสหภาพโซเวียตขัดขวาง ขณะยังถูกควบคุมตัวในซแพนเดา เขาเสียชีวิตโดยดูเหมือนฆ่าตัวตายในปี 1987 เมื่ออายุ 93 ปี หลังเสียชีวิต เรือนจำถูกทำลายเพื่อมิให้กลายเป็นที่บูชาของนีโอนาซี