ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพชร เอกกำลังกุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 27.55.72.181 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Pongsak ksm
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
แก้ไขการทำธุรกิจ
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
เพชร เอกกำลังกุล เคยเป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดระยอง ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด (สจ.) 3 สมัย และเป็นรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง<ref>[https://www.komchadluek.net/news/politic/101725 ปชป.หืดจับ4เขตระยอง2เขตอุทัยฯเสร็จชทพ.]</ref> ต่อมาลงสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.[[จังหวัดระยองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554]] สังกัดพรรคเพื่อไทย เขตเลือกตั้งที่ 1 แต่แพ้ให้กับ [[สาธิต ปิตุเตชะ]] จากพรรคประชาธิปัตย์<ref>[http://www.inv.p2.police.go.th/new/Election54/Election_2554/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%99/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%99_%E0%B8%A3%E0%B8%A2.htm ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง]</ref>
เพชร เอกกำลังกุล เคยเป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดระยอง ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด (สจ.) 3 สมัย และเป็นรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง<ref>[https://www.komchadluek.net/news/politic/101725 ปชป.หืดจับ4เขตระยอง2เขตอุทัยฯเสร็จชทพ.]</ref> ต่อมาลงสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.[[จังหวัดระยองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554]] สังกัดพรรคเพื่อไทย เขตเลือกตั้งที่ 1 แต่แพ้ให้กับ [[สาธิต ปิตุเตชะ]] จากพรรคประชาธิปัตย์<ref>[http://www.inv.p2.police.go.th/new/Election54/Election_2554/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%99/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%99_%E0%B8%A3%E0%B8%A2.htm ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง]</ref>


ต่อมาในปี 2562 ย้ายมาร่วมงานกับพรรคเสรีรวมไทย<ref>[https://www.isranews.org/isranews/82117-isranews-82117.html ‘เสรีพิศุทธ์’ควัก 10 ล.-เปิดตัว 4 ผู้บริจาครายใหญ่‘เสรีรวมไทย’ 35 ล.]</ref> และลงสมัครรรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 7 และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัยแรก<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/1528800 ใครเป็นใคร 10 ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์เสรีรวมไทย "เสรีพิศุทธ์" นำทัพสำเร็จ]</ref> หลังการเลือกตั้งเขาได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรคเสรีรวมไทย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/D/063/T_0061.PDF ประกาศประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารพรรคเสรีรวมไทย]</ref> และทำหน้าที่ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร แต่หลายครั้งที่เขามีบทบาทในการลงมติไปในทิศทางการสนับสนุนฝ่ายรัฐบาล อาทิ การงดออกเสียงพระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2563<ref>[https://siamrath.co.th/n/159415 เปิดตัวงูเห่า..!!! พบ "เสรีรวมไทย" เทใจหนุนรบ.งดออกเสียงพรก.3 ฉบับ " เศรษฐกิจใหม่"โหวตให้รัฐบาลตามเดิม"สหายแสง"แหวกม่านอีกลงมติเห็นชอบรัฐบาล]</ref> การไม่ลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางในนายกรัฐมนตรี<ref>[https://www.komchadluek.net/news/politic/458957 เปิด ส.ส. แตกแถว "งดออกเสียง" ลงมตินายกฯศึกซักฟอก]</ref> การงดออกเสียงให้นายอนุทิน ชาญวีรกูล นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ และนายนิพนธ์ บุญญามณี ใน[[การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2564]]<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/923658 เปิด'งูเห่า'ฝ่ายค้าน '4ส.ส.ก้าวไกล' หนุนรมต. ปชป.แพแตกโหวตโน'จุรินทร์']</ref> และเขาเองได้ขอลาออกจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรค ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/D/079/T_0092.PDF</ref>
ต่อมาในปี 2562 ย้ายมาร่วมงานกับพรรคเสรีรวมไทย<ref>[https://www.isranews.org/isranews/82117-isranews-82117.html ‘เสรีพิศุทธ์’ควัก 10 ล.-เปิดตัว 4 ผู้บริจาครายใหญ่‘เสรีรวมไทย’ 35 ล.]</ref> และลงสมัครรรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 7 และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัยแรก<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/1528800 ใครเป็นใคร 10 ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์เสรีรวมไทย "เสรีพิศุทธ์" นำทัพสำเร็จ]</ref> หลังการเลือกตั้งเขาได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรคเสรีรวมไทย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/D/063/T_0061.PDF ประกาศประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารพรรคเสรีรวมไทย]</ref> และทำหน้าที่ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร แต่หลายครั้งที่เขามีบทบาทในการลงมติไปในทิศทางการสนับสนุนฝ่ายรัฐบาล อาทิ การงดออกเสียงพระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2563<ref>[https://siamrath.co.th/n/159415 เปิดตัวงูเห่า..!!! พบ "เสรีรวมไทย" เทใจหนุนรบ.งดออกเสียงพรก.3 ฉบับ " เศรษฐกิจใหม่"โหวตให้รัฐบาลตามเดิม"สหายแสง"แหวกม่านอีกลงมติเห็นชอบรัฐบาล]</ref> การไม่ลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางในนายกรัฐมนตรี<ref>[https://www.komchadluek.net/news/politic/458957 เปิด ส.ส. แตกแถว "งดออกเสียง" ลงมตินายกฯศึกซักฟอก]</ref> การงดออกเสียงให้นายอนุทิน ชาญวีรกูล นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ และนายนิพนธ์ บุญญามณี ใน[[การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2564]]<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/923658 เปิด'งูเห่า'ฝ่ายค้าน '4ส.ส.ก้าวไกล' หนุนรมต. ปชป.แพแตกโหวตโน'จุรินทร์']</ref> และเขาเองได้ขอลาออกจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรค ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/D/079/T_0092.PDF</ref>{{บ.ช.|2550}}

เพชร เอกกำลังกุล เป็นนักธุรกิจเจ้าของกิจการรีสอร์ทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน <ref>[https://www.isranews.org/isranews-news/82132-isranews_82132.html ทรัพย์สิน 517 ล.‘เพชร เอกกำลังกุล’นักธุรกิจรีสอร์ทนั่ง ส.ส.เสรีรวมไทย-บริจาคพรรค 5 ล.]</ref>

== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ท.ม.|2563}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/B/E001/2.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๓], เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖, ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔</ref>
{{บ.ช.|2550}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:03, 13 กุมภาพันธ์ 2566

เพชร เอกกำลังกุล
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด22 มีนาคม พ.ศ. 2491 (76 ปี)
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองเสรีรวมไทย

เพชร เอกกำลังกุล เป็นนักการเมืองชาวไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเสรีรวมไทย เคยเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย

ประวัติ

เพชร เอกกำลังกุล เกิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2491 สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์บริการการศีกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองสุพรรณบุรี (กศน.)

การทำงาน

เพชร เอกกำลังกุล เคยเป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดระยอง ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด (สจ.) 3 สมัย และเป็นรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง[1] ต่อมาลงสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.จังหวัดระยองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย เขตเลือกตั้งที่ 1 แต่แพ้ให้กับ สาธิต ปิตุเตชะ จากพรรคประชาธิปัตย์[2]

ต่อมาในปี 2562 ย้ายมาร่วมงานกับพรรคเสรีรวมไทย[3] และลงสมัครรรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 7 และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัยแรก[4] หลังการเลือกตั้งเขาได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรคเสรีรวมไทย[5] และทำหน้าที่ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร แต่หลายครั้งที่เขามีบทบาทในการลงมติไปในทิศทางการสนับสนุนฝ่ายรัฐบาล อาทิ การงดออกเสียงพระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2563[6] การไม่ลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางในนายกรัฐมนตรี[7] การงดออกเสียงให้นายอนุทิน ชาญวีรกูล นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ และนายนิพนธ์ บุญญามณี ในการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2564[8] และเขาเองได้ขอลาออกจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรค ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563[9]

อ้างอิง

  1. ปชป.หืดจับ4เขตระยอง2เขตอุทัยฯเสร็จชทพ.
  2. ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
  3. ‘เสรีพิศุทธ์’ควัก 10 ล.-เปิดตัว 4 ผู้บริจาครายใหญ่‘เสรีรวมไทย’ 35 ล.
  4. ใครเป็นใคร 10 ส.ส.ปาร์ตี้ลิสต์เสรีรวมไทย "เสรีพิศุทธ์" นำทัพสำเร็จ
  5. ประกาศประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารพรรคเสรีรวมไทย
  6. เปิดตัวงูเห่า..!!! พบ "เสรีรวมไทย" เทใจหนุนรบ.งดออกเสียงพรก.3 ฉบับ " เศรษฐกิจใหม่"โหวตให้รัฐบาลตามเดิม"สหายแสง"แหวกม่านอีกลงมติเห็นชอบรัฐบาล
  7. เปิด ส.ส. แตกแถว "งดออกเสียง" ลงมตินายกฯศึกซักฟอก
  8. เปิด'งูเห่า'ฝ่ายค้าน '4ส.ส.ก้าวไกล' หนุนรมต. ปชป.แพแตกโหวตโน'จุรินทร์'
  9. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/D/079/T_0092.PDF