ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไอออนิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8489099 โดย 118.173.208.163ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''พันธะไอออนิก''' ({{lang-en|Ionic bonding}}) เป็น[[พันธะเคมี]]ชนิดหนึ่ง เกิดจากที่[[อะตอม]]หรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมให้[[อิเล็กตรอน]]กับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนนั้นกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากทั้งสองกลุ่มมี[[ประจุ]]ตรงกันข้ามกันจะดึงดูดกัน ทำให้เกิดพันธะไอออน โดยทั่วไปพันธะชนิดนี้มักเกิดขึ้นระหว่าง[[โลหะ]]กับ[[อโลหะ]] โดยอะตอมที่ให้อิเล็กตรอนมักเป็น[[โลหะ]] ทำให้โลหะนั้นมีประจุบวก และอะตอมที่รับอิเล็กตรอนมักเป็น[[อโลหะ]] จึงมีประจุลบ ไอออนที่มีพันธะไอออนิกจะมีความแข็งแรงมากกว่า[[พันธะไฮโดรเจน]] แต่แข็งแรงพอ ๆ กับ[[พันธะโคเวเลนต์]]
'''พันธะไอออนิก''' ({{lang-en|Ionic bonding}}) เป็น[[พันธะเคมี]]ชนิดหนึ่ง เกิดจากที่[[อะตอม]]หรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมให้[[อิเล็กตรอน]]กับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนนั้นกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากทั้งสองกลุ่มมี[[ประจุ]]ตรงกันข้ามกันจะดึงดูดกัน ทำให้เกิดพันธะไอออน โดยทั่วไปพันธะชนิดนี้มักเกิดขึ้นระหว่าง[[โลหะ]]กับ[[อโลหะ]] โดยอะตอมที่ให้อิเล็กตรอนมักเป็น[[โลหะ]] ทำให้โลหะนั้นมีประจุบวก และอะตอมที่รับอิเล็กตรอนมักเป็น[[อโลหะ]] จึงมีประจุลบ ไอออนที่มีพันธะไอออนิกจะมีความแข็งแรงมากกว่า[[พันธะไฮโดรเจน]] แต่แข็งแรงพอ ๆ กับ[[พันธะโคเวเลนต์]]


]]หรือ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง
== นิยาม ==
[[ไฟล์:Ionic_bonding.png|thumb|right|200px|[[การจัดเรียงอิเล็กตรอน]] ของ [[ลิเทียม]] และ [[ฟลูออรีน]] ลิเทียมมีอิเล็กตรอน 1 ตัวในวงโคจรชั้นนอกสุดของมันซึ่งอยู่อย่างหลวมๆ เพราะว่า [[พลังงานไอออไนเซชัน]] ต่ำ ฟลูออรีนมีอิเล็กตรอน 7 ตัวในวงโคจรชั้นนอกสุด เมื่ออิเล็กตรอน 1 ตัว เคลื่อนที่จากลิเทียมไปยังฟลูออรีน แต่ละ [[ไอออน]] จะจัดเรียงตัวกันแบบ [[ก๊าซมีตระกูล]] พลังงานพันธะจาก [[แรงดึงดูดไฟฟ้าสถิต]] ของสองประจุไออนที่ตรงข้ามกันมีค่าเป็นลบมากพอ เนื่องจากการที่พลังงานในสถานะที่เป็นพันธะโดยรวมต่ำกว่าสถานะที่ไม่เป็นพันธะ]]
IUPAC นิยามพันธะไอออนิกว่าเป็น "พันธะระหว่างอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีต่างกันอย่างมาก" ในที่นี้ พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าของ[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] ซึ่งแตกต่างเปรียบเทียบกับ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง ในทางปฏิบัติ เรามักจะพิจารณาค่าความเป็นไอออนิกของพันธะมากกว่าที่จะบอกว่าเป็น[[พันธะไอออนิก]]หรือ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง


== ค่าความเป็นไอออนิก ==
== ค่าความเป็นไอออนิก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:24, 16 ธันวาคม 2565

Sodium and fluorine undergoing a redox reaction to form sodium fluoride. Sodium loses its outer electron to give it a stable electron configuration, and this electron enters the fluorine atom exothermically. The oppositely charged ions - typically a great many of them - are then attracted to each other to form a solid.

พันธะไอออนิก (อังกฤษ: Ionic bonding) เป็นพันธะเคมีชนิดหนึ่ง เกิดจากที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมให้อิเล็กตรอนกับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนนั้นกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากทั้งสองกลุ่มมีประจุตรงกันข้ามกันจะดึงดูดกัน ทำให้เกิดพันธะไอออน โดยทั่วไปพันธะชนิดนี้มักเกิดขึ้นระหว่างโลหะกับอโลหะ โดยอะตอมที่ให้อิเล็กตรอนมักเป็นโลหะ ทำให้โลหะนั้นมีประจุบวก และอะตอมที่รับอิเล็กตรอนมักเป็นอโลหะ จึงมีประจุลบ ไอออนที่มีพันธะไอออนิกจะมีความแข็งแรงมากกว่าพันธะไฮโดรเจน แต่แข็งแรงพอ ๆ กับพันธะโคเวเลนต์

]]หรือพันธะโคเวเลนต์อย่างแท้จริง

ค่าความเป็นไอออนิก

ค่าความเป็นไอออนิก (Ionic Character) เป็นค่าที่ได้จากสมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคำนวณความเป็นไอออนิกถูกเสนอขึ้นโดย ลินัส เพาลิง ที่ประมาณการค่าความเป็นไอออนิกระหว่างอะตอม A และ อะตอม B ดังนี

และ

เมื่อ และ คือ ค่าอิเล็กโทรเนกาทิวิตีที่เสนอโดยเพาลิงของอะตอม A และ อะตอม B ตามลำดับ

ร้อยละความเป็นไอออนิก

ร้อยละความเป็นไอออนิกเป็นการคำนวณเพื่อแสดงค่าความเป็นไอออนิกในส่วนร้อย สามารถคำนวณได้ ดังนี้:

โดยพบพันธะชนิดนี้เกือบทั้งหมดในของแข็ง"

อ้างอิง

ดูเพิ่ม