พาราคว็อท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พาราคว็อท
ชื่อ
Preferred IUPAC name
1,1′-Dimethyl[4,4′-bipyridine]-1,1′-diium dichloride
ชื่ออื่น
Paraquat dichloride; Methyl viologen dichloride; MVCl2; Crisquat; Dexuron; Esgram; Gramuron; Ortho Paraquat CL; Para-col; Pillarxone; Tota-col; Toxer Total; PP148; Cyclone; Gramixel; Gramoxone; Pathclear; AH 501; Bai Cao Ku.
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.016.015 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
UNII
  • InChI=1S/C12H14N2.2ClH/c1-13-7-3-11(4-8-13)12-5-9-14(2)10-6-12;;/h3-10H,1-2H3;2*1H/q+2;;/p-2 checkY
    Key: FIKAKWIAUPDISJ-UHFFFAOYSA-L checkY
  • InChI=1/C12H14N2.2ClH/c1-13-7-3-11(4-8-13)12-5-9-14(2)10-6-12;;/h3-10H,1-2H3;2*1H/q+2;;/p-2/fC12H14N2.2Cl/h;2*1h/qm;2*-1
  • InChI=1/C12H14N2.2ClH/c1-13-7-3-11(4-8-13)12-5-9-14(2)10-6-12;;/h3-10H,1-2H3;2*1H/q+2;;/p-2
    Key: FIKAKWIAUPDISJ-NUQVWONBAF
  • C[n+]1ccc(cc1)c2cc[n+](cc2)C.[Cl-].[Cl-]
คุณสมบัติ
C12H14Cl2N2
มวลโมเลกุล 257.16 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ Yellow solid[1]
กลิ่น faint, ammonia-like[1]
ความหนาแน่น 1.25 g/cm3
จุดหลอมเหลว 175 ถึง 180 องศาเซลเซียส (347 ถึง 356 องศาฟาเรนไฮต์; 448 ถึง 453 เคลวิน)[2]
จุดเดือด > 300 องศาเซลเซียส (572 องศาฟาเรนไฮต์; 573 เคลวิน)[2]
สูง
ความดันไอ <0.0000001 mmHg (20 °C)[1]
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
Toxic, environmental hazard
GHS labelling:
The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) The environment pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
H301, H311, H315, H319, H330, H335, H372, H410[3]
P260, P273, P280, P284, P301+P310, P305+P351+P338
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
57 mg/kg (rat, oral)
120 mg/kg (mouse, oral)
25 mg/kg (dog, oral)
22 mg/kg (guinea pig, oral)[4]
3 mg/m3 (mouse, 30 min respirable dust)
3 mg/m3 (guinea pig, 30 min respirable dust)[4]
1 mg/m3 (rat, respirable dust, 6 h)
6400 mg/m3 (rat, nonrespirable dust, 4 h)[4]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
TWA 0.5 mg/m3 (resp) [skin][1]
REL (Recommended)
TWA 0.1 mg/m3 (resp) [skin][1]
IDLH (Immediate danger)
1 mg/m3[1]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) Aldrich MSDS
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

พาราคว็อท (อังกฤษ: Paraquat) เป็นชื่อการค้าของ N,N′-ไดเมทิลl-4,4′-ไบไพริดิเนียม ไดคลอไรด์ เป็นยากำจัดวัชพืชชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมที่สุดในโลก ถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1882 แต่ถูกนำมาใช้กำจัดวัชพืชครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1955 [5] ผลิตจำหน่ายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1961 โดยบริษัท ไอซีไอ ปัจจุบันทำการตลาดโดยบริษัท ซินเจนทา [6] พาราคว็อทเป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์ จากปฏิกิริยารีด็อกส์ ที่ทำให้เกิดซูเปอร์ออกไซด์ พาราคว็อทมีความสัมพันธ์กับโรคพาร์กินสัน[7][8] และถูกแบนในหลายประเทศ

ในประเทศไทย พาราคว็อทเป็นที่รู้จักในชื่อการค้า กรัมม็อกโซน (Grammoxone) [9] เป็นยาฆ่าวัชพืชที่นิยมใช้ที่สุดในประเทศไทย [10]

พาราคว็อทออกฤทธิ์โดยหยุดยั้งการเติบโตของเซลวัชพืช เฉพาะส่วนที่เป็นสีเขียว และทำให้เนื้อเยื่อของเซลนั้นแห้งลง โดยไม่แพร่กระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อไม้ [9] สามารถใช้ได้กับพืชผลหลายชนิด ทั้งไม้ต้นสูงและพืชพันธุ์เตี้ย

ในทางพิษวิทยา พาราคว็อทจะก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อที่สัมผัส ผิวหนังเป็นแผลพุพอง หากสัมผัสกับตาจะทำให้ตาบวมแดงอักเสบ ประสิทธิภาพในการมองเห็นลดลง หากบริโภคจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองลำคอ ปอด และหายใจไม่ออก และส่งผลต่อสภาวะการทำงานของตับ [10]

ในประเทศโลกที่สาม นิยมใช้พาราคว็อทเป็นยาพิษสำหรับการฆ่าตัวตาย [11] เนื่องจากเป็นสารพิษที่มีจำหน่ายทั่วไป ราคาไม่แพง และไม่จำเป็นต้องใช้ในปริมาณมาก

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0478". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. 2.0 2.1 "Paraquat dichloride". International Programme on Chemical Safety. October 2001. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-19. สืบค้นเมื่อ 2007-09-06.
  3. Sigma-Aldrich Co., 1,1′-Dimethyl-4,4′-bipyridinium dichloride hydrate. Retrieved on 2015-03-29.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Paraquat". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  5. Paraquat Fact Sheet เก็บถาวร 2010-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน an excerpt from an article published by Pesticides News No.32, June 1996, p20-21
  6. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-08. สืบค้นเมื่อ 2010-05-26.
  7. "Two pesticides—rotenone and paraquat—linked to Parkinson's disease, study suggests". Science Daily. 2011. สืบค้นเมื่อ October 25, 2011.
  8. Kamel, F. (2013). "Paths from Pesticides to Parkinson's" (Submitted manuscript). Science. 341 (6147): 722–723. doi:10.1126/science.1243619. PMID 23950519.
  9. 9.0 9.1 "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-01-17. สืบค้นเมื่อ 2010-05-26.
  10. 10.0 10.1 chemtrack.org
  11. Dinham, B. 1996: Active Ingredient fact sheet, Paraquat, in: PAN UK: Pesticide News No. 32, p. 20-1: [1] เก็บถาวร 2010-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 24.06.2003

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]