พระแสนเมือง
ระวังสับสนกับ พญาแสนเมืองมา หรือ พระเจ้าแสนเมือง
พระแสนเมือง | |
---|---|
เจ้าผู้ครองแคว้นล้านนา | |
ครองราชย์ | พ.ศ. 2189 - พ.ศ. 2102 |
รัชสมัย | 13 ปี |
รัชกาลก่อนหน้า | พระยาหลวงทิพเนตร |
รัชกาลถัดไป | เจ้าเมืองแพร่ |
พระบุตร | พระนางกุสาวดี |
พระบิดา | พระยาหลวงทิพเนตร[1] |
ประสูติ | ไม่ปรากฏ |
พิราลัย | พ.ศ. 2215 |
พระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่[2] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2189 - 2202 ในรัชกาลนี้ พม่าเริ่มมีปัญหากับจีนฮ่อซึ่งเป็นกองกำลังของราชวงศ์หมิงที่ถูกขับไล่ลงมาทางใต้โดยราชวงศ์ชิง
พระแสนเมืองเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ที่ปกครองโดยพม่า โดยนครถูกยึดครองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้คนและหญิงสาวในเมืองนั้นถูกกวาดต้อนเป็นอย่างมาก หนึ่งในนั้น คือ เจ้านางสมบุญ (ภายหลังในเป็น พระนางกุสาวดี) ได้เป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และเชื่อกันว่ามีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระเจ้าเสือ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ประวัติคาถาชินบัญชร จากเว็บไซต์ amulet9 สืบค้นเมื่อ 05-06-57.
- ↑ รุ่งพงษ์ ชัยนาม. ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโอกาสได้ศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ก่อนหน้า | พระแสนเมือง | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระยาหลวงทิพเนตร | ![]() |
เจ้าผู้ครองแคว้นล้านนา (พ.ศ. 2189 - พ.ศ. 2202) |
![]() |
เจ้าเมืองแพร่ |
![]() |
บทความเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ และพระบรมวงศานุวงศ์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |