ผู้ใช้:Suwanun/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์

1.ที่มาและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์[แก้]

ประชาคมอาเซียนได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 แรกเริ่มประกอบด้วย 5 ประเทศในเขตภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ถือเป็นองค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาค มีวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อส่งเริมด้านการเมืองและความมั่นคง การเปิดเสรีขยายตัวทางด้านการค้าและการลงทุน ส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิก ในเวลาต่อมาภายหลังยุคสงครามเย็น อาเซียนได้สร้างสัมพันธภาพร่วมกับประเทศอื่นๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีก 5 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย บรูไน เวียดนาม พม่า กัมพูชา และลาว ไทยและสิงคโปร์ได้มีการพัฒนาการเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2553 ร่วมกัน ทั้งสองประเทศได้มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับต่างๆ อย่างสม่าเสมอ โดยทั้งสองมีกลไกทวิภาคี 4 หลักสาคัญคือ 1)การประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่างนายกรัฐมนตรี (Prime Ministerial) 2)โครงการแลกเปลี่ยนข้าราชการพลเรือนระหว่างไทยกับสิงคโปร์ (Civil service Exchange Programmer CSEP) 3)การประชุม Singapore-Thailand Enhanced Economic Relation(STEER)มีกระทรวงพาณิชย์เป็นผู้ประสานงาน 4)ความร่วมมือด้านความมั่นคงในกรอบ(CSEP) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสิงคโปร์ ได้มีความใกล้ชิดและพัฒนาบนพื้นฐานของการมีผลประโยชน์ร่วมกันรอบด้าน ดังต่อไปนี้

2.ด้านการเมืองและความมั่นคง[แก้]

ทั้งสองฝ่ายให้ความสาคัญในการส่งเสริมความร่วมมือเพื่อพัฒนาและสนับสนุนการเป็นประชาคมอาเซียนทั้งสองฝ่ายมสัมพันธภาพที่ดีต่อกันและไม่มีปมความขัดแย้งระหว่างกันในอดีตที่ผ่านมา ด้านการทหารไทยและสิงคโปร์ได้มีการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างผู้บังคับบัญชาระดับสูงสุดอย่างสม่าเสมอ ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารร่วมด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศระหว่างกองทัพ ข้อตกลงทวิภาคีด้านการทหารที่สา คัญ ได้แก่ การตกลงเรื่องการฝึกของกองทัพสิงคโปร์ในไทย ฉบับที่ 8 ปี พ.ศ. 2550 - 2553 (ลงนามเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) และบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการสนับสนุน ด้านการฝึกและการส่งกา ลังบา รุงระหว่างกองทัพอากาศสิงคโปร์กับไทย ซึ่งไทยอนุญาตให้สิงคโปร์ใช้พื้นที่ ในจังหวัดกาญจนบุรีเพื่อฝึกรบภาคพื้นดิน และที่สนามบินกองบินที่ 23 จังหวัดอุดรธานี ในการฝึกรบทางอากาศ (ลงนามเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) มีการฝึกซ้อมการรบร่วมกัน และมีการ แลกเปลี่ยนการฝึกสอนบุคลากร <ref>http://aec.pcru.ac.th/content/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0 %B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8% 98%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0 %B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B1 %E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87 %E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%8C > , <ref>http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=910&filename=index>

3.ด้านการค้าและการลงทุน[แก้]

การค้า(การส่งออก-นาเข้า) ในปี พ.ศ.2546 ไทยเป็นคู่ค้า ดับการค้าที่ 8 ของสิงคโปร์ โดยรองจากประเทศมาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหภาพ ยุโรป ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง และไต้หวัน โดยที่สิงคโปร์เป็นคู่ลา ดับการค้าที่ 4 ของไทย รองจากประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ในปี พ.ศ. 2550 ไทยมีการส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 9,544.02 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีการ นาเข้าสินค้าจากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 6,281.52 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก-นาเข้ามีมูลค่าการค้ารวม 15,825.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2549 ร้อยละ 12.8 โดยที่ไทยเกินดุลการค้ามูลค่า 2,784.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2551ไทยส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์ มีมูลค่ารวม10,114.67 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีการนาเข้า สินค้าจากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 7,080.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก-นาเข้ามีมูลค่าการค้ารวม 17,194.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันของปี ที่ผ่านมา โดยที่ ไทยเกินดุลการค้ากับสิงคโปร์ 3,034.39 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2552ไทยส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์ มีมูลค่ารวม 7,574.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีการนาเข้าสินค้า จากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 5,724.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก-นาเข้ามีมูลค่าการค้ารวม 13,298.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 22.66 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยที่ไทยเกินดุล การค้ากับสิงคโปร์ 1,850.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2553 (เดือนมกราคม-เดือนเมษายน)ไทยส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์ มีมูลค่ารวม 2,639.9 ล้าน เหรียญสหรัฐฯและมีการนาเข้าสินค้าจากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 2,167.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก- นา เข้า มีมูลค่าการค้ารวม 4,807.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.10 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลา เดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยที่ไทยเกินดุลการค้ากับสิงคโปร์ 472.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ <ref>https://nusmobile.wordpress.com/2008/04/19/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E 0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8 %99%E0%B8%98%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2- %E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B 8%A3/> สินค้าสาคัญทไี่ ทยส่งออกไปสิงคโปร์ คือ น้า มันสา เร็จรูป, แผนวงจรไฟฟ้ า,เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบ-อุปกรณ์,เครื่องรับวิทยุ-ส่วนประกอบ,มอเตอร์-เครื่องกา เนิดไฟฟ้ า,ส่วนประกอบอากาศยาน- อุปกรณ์การบิน,อุปกรณ์ตัวนา ทรานซิสเตอร์-ไดโอต,เหล็ก เหล็กกล้า-ผลิตภัณฑ์,รถยนต์ ส่วนประกอบ- อุปกรณ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า-ส่วนประกอบอื่นๆ สินค้าสาคัญทไี่ ทยนาเข้าจากสิงคโปร์ คือ น้า มันสา เร็จรูป,ผลิตภัณฑ์พลาสติก,กระดาษ-กระดาษแข็ง, เครื่องใช้ไฟฟ้ า,ผลิตภัณฑ์โลหะ,เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม,เคมีภัณฑ์,แผนวงจรไฟฟ้ า,เครื่องจักรไฟฟ้ า- ส่วนประกอบอื่นๆ <ref>https://www.gotoknow.org/posts/181228> , <ref>http://oknation.nationtv.tv/blog/tontong/2009/01/14/entry-1> การลงทุน จากสถิติของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของประเทศไทย(BOI) พบว่าสิงคโปร์เป็น ประเทศหนึ่งที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยสูงมาก กิจการของสิงคโปร์ที่เข้ามาขอรับการส่งเสริมการลงทุน ในช่วงครึ่งแรกปี พ.ศ. 2550 ถือว่าสูงที่สุดในอาเซียน ทั้งจา นวนโครงการและเงินลงทุน และสูงเป็นอันดับที่ 2 เมื่อรวมทุกประเทศที่เข้ามาขอรับการลงทุนในไทย เป็นรองเพียงแค่ญี่ปุ่น โดยมีจา นวน 40 โครงการ เงิน ลงทุน 10.6 พันล้านบาท ขณะที่กิจการที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุน มีจา นวน 31 โครงการ เงินลงทุนทั้งหมด 7.4 พันล้านบาท ทั้งนี้ เป็นโครงการขนาดกลางที่มีมูลค่าในการลงทุน 100-499 ล้านบาท มากที่สุด คือ 12 โครงการ มูลค่า ลงทุนทั้งหมด 2.9 พันล้านบาท ขณะที่โครงการขนาดใหญ่ที่มีมูลค่าการลงทุนมากกว่า 1 พันล้านบาท เป็น โครงการขยายทั้งหมด มี 3 โครงการ มูลค่าการลงทุนทั้งหมด 7.4 พันล้านบาท ได้แก่ - โครงการขยายการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ของบริษัท Cal Comp Electronics (Thailand) PCL. มูลค่า เงินลงทุนทั้งหมด 1,470 ล้านบาท ส่งออกร้อยละ 95 กา ลังการผลิตมีจา นวน 23.5 ล้านชิ้นต่อปี - โครงการขยายการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ของบริษัท SVI PCL. มูลค่าเงินลงทุนทั้งหมด 1,195 ล้าน บาท มีการส่งออกทั้งหมด กา ลังการผลิตจา นวน 4.4 ล้านชิ้นต่อปี โดยสาขาที่สิงคโปร์ให้ความสนใจในการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ภาคบริการ อิเล็กทรอนิกส์และ ชิ้นส่วน และเครื่องจักรและผลิตภัณฑ์โลหะ และโครงการลงทุนส่วนใหญ่จะอยู่ในเขต 1 และ 2 ขณะที่ อุตสาหกรรมเบา อาทิ สิ่งทอ นักลงทุนสิงคโปร์ให้ความสนใจน้อยมาก เช่นเดียวกับเหมืองแร่และเซรามิค <ref>http://www.boi.go.th/thai/asean/Singapore/capt2_p4n.html>

4.ด้านการเงิน[แก้]

ธนาคารของสิงคโปร์ ได้ขยายสาขามาดา เนินธุรกรรมการเงินในไทยทั้งหมด 4 ธนาคาร ได้แก่ 1. Development Bank of Singapore (DBS) 2.Overseas Chinese Banking Corporation (OCBC) 3.United Overseas Bank (UOB) 4. Overseas Union Bank (OUB) โดยดา เนินการภายใต้กรอบกิจการวิเทศธนกิจ ( BIBF) กิจการวิเทศธนกิจมี 2 ประเภท โดยสรุป คือ 1) กิจการวิเทศธนกิจเพื่อการให้กู้ยืมในต่างประเทศ หมายถึง การรับฝากหรือกู้ยืมเงินตราต่างประเทศจาก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ หรือการรับฝากหรือกู้ยืมเงินบาทจากต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ จะนาไปให้กู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศในต่างประเทศหรือแก่กิจการวิเทศธนกิจอื่น 2) กิจการวิเทศธนกิจเพื่อการให้กู้ยืมในประเทศ หมายถึง การรับฝากหรือการกู้ยืมเงินตราต่างประเทศจาก ต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะนา ไปให้กู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศในประเทศไทยโดยมีการเบิก ถอนเงินกู้ยืมแต่ละครั้งไม่ต่า กว่าจา นวนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกา หนด โดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา <ref>http://www.fpo.go.th/s- I/Source/word/Word.php?Language=Thai&BeginRec=1044&NumRecShow=8&sort=4&search=> หลังจากที่ทั้ง 2 ธนาคารได้รับอนุญาตตามความตกลงพิเศษในการแลกเปลี่ยนสาขาธนาคารเพิ่มเติม ระหว่าง กระทรวงการคลังของสองประเทศ นอกจากนี้ ในช่วงวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ธนาคาร UOB ได้ซื้อหุ้น ธนาคารรัตนสินเป็นจา นวนร้อยละ 75 และเข้ามาบริหารงานอย่างเป็นทางการ รวมทั้งเปลี่ยนชื่อธนาคารเป็น ธนาคาร UOB รัตนสิน จา กัด ธนาคารของไทย 3 แห่ง ได้มีการขยายสาขาและเปิดบริการที่สิงคโปร์ คือ 1.ธนาคารกรุงเทพ 2.ธนาคารกรุงไทย 3.ธนาคารไทยพาณิชย์ อย่างไรก็ตาม มีเพียงธนาคารเดียวที่ได้รับอนุญาต ให้ดา เนินกิจการธนาคารอย่างเต็มรูปแบบคือธนาคาร กรุงเทพ ส่วนธนาคารไทยอีก 2 แห่ง มีขอบเขตการประกอบกิจการเพียงการให้บริการกู้ยืมระหว่างประเทศ ในลักษณะของ off-shore banking หรือการธนาคารนอกประเทศนั่นเอง <ref>https://www.gotoknow.org/posts/181228>

5.ด้านการท่องเที่ยว[แก้]

นักท่องเที่ยวต่างชาติชาวสิงคโปร์ถือว่าเป็นนักท่องเที่ยวระดับแนวหน้าที่นิยมเดินทางมาเที่ยวประเทศ ไทย โดยจัดอยู่ในอันดับ 5 รองจาก ประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย ไต้หวัน และจีน อย่างไรก็ตาม นักท่องเที่ยวชาว สิงคโปร์ที่เดินทางมาไทยแทบไม่เพิ่มขึ้นเลยในรอบปี ที่ผ่านมา ประมาณว่าจะมีจา นวนราว 656,000 คน ใกล้เคียงกับปี พ.ศ. 2543 เพราะสภาพเศรษฐกิจสิงคโปร์ย่า แย่ลง คาดว่าเมื่อเศรษฐกิจสิงคโปร์มีแนวโน้มดี ขึ้นในปี 2545 ประเทศไทยน่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ชาวสิงคโปร์สนใจมาเที่ยวชมมากขึ้น ประมาณได้ว่า นักท่องเที่ยวชาวสิงคโปร์จะทา รายได้ด้านการท่องเที่ยวให้แก่ไทยไม่ต่า กว่า 14,000 ล้านบาทต่อปี <ref>https://www.kasikornresearch.com/TH/KEconAnalysis/ Pages/ViewSummary.aspx?docid=3356> โดยในปลายเดือนธันวาคม พ.ศ.2547 ไทยเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ ทา ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ ชะลอเดินทางมาไทยช่วงครึ่งปี แรกปีพ.ศ.2548 (มกราคม-มิถุนายน) จนจา นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ทั้งหมดที่จะเดินทางมาเที่ยวในไทยลดลงร้อยละ6 จาก 5.51 ล้านคน ในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2547 เป็น 5.18 ล้านคน แต่มีจา นวนนักท่องเที่ยวจากสิงคโปร์ที่เดินทางมาไทยช่วงดังกล่าว กลับเพิ่มขึ้นร้อยละ8.3 เป็น 366,693 คน จาก 338,577 คน ในช่วงเดียวกันปี พ.ศ.2547 พบว่ามีจา นวนนักท่องเที่ยวจากสิงคโปร์เดินทาง มาไทยมากเป็นอันดับที่ 2 ในแต่ละประเทศในอาเซียน คิดเป็นร้อยละ 25 ของจา นวนนักท่องเที่ยวอาเซียน ทั้งหมดที่เดินทางมาไทย ในช่วงครึ่งปี แรกปี พ.ศ.2547 การที่มีนักท่องเที่ยวจากสิงคโปร์เดินทางมาไทย เพิ่มขึ้น เนื่องจากใช้ระยะเวลาเดินทางไม่นาน ราคาสินค้าและค่าใช้จ่ายท่องเที่ยวในไทยราคาไม่สูงจึงมี จา นวนนักท่องเที่ยวชาวสิงคโปร์เดินทางมาเพิ่มขึ้น <ref>https://nusmobile.wordpress.com/2008/04/19/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E 0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8 %99%E0%B8%98%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2- %E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B 8%A3/>

6.ด้านการทูต[แก้]

ไทยและสิงคโปร์ได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2508 ความสัมพันธ์ได้ดา เนินมาตลอด 40 ปี และได้พัฒนาไปเป็นลักษณะ หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ในการ ดา เนินการเชิงรุกในภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ ไทยและสิงคโปร์มีสานสัมพันธ์ที่ดีงามและมีจุดแข็ง มีศักยภาพที่เอื้อประโยชน์ต่อกันเป็นอย่างดี ไทยมีทรัพยากรธรรมชาติ มีแรงงานจา นวนมากและมีพื้นที่กว้าง ใหญ่ ส่วนสิงคโปร์ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติและพื้นที่น้อย แต่จะมีความก้าวหน้าทางด้านทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมระดับสูง จึงมีการนา จุดแข็งทั้งสองประเทศมาใช้ร่วมกันจนนา ไปสู่การ ส่งเสริมความสัมพันธ์และการพัฒนาร่วมกันที่ยั่งยืน

7.ด้านสังคมวัฒนธรรมและการศึกษา[แก้]

ด้านสังคมวัฒนธรรม มีการจัดทา โครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานข้าราชการพลเรือนไทยกับสิงคโปร์ (Thailand- Singapore Civil Service Exchange Programme-CSEP) ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อ ส่งเสริมให้หน่วยราชการไทยและสิงคโปร์มีโอกาสพบปะและสร้างความคุ้นเคยระหว่างกัน ซึ่งจะช่วย ส่งเสริมความใกล้ชิดและความเป็น “หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์” ระหว่างกันมากขึ้นจนนา ไปสู่การขยายความ ร่วมมือที่ดีต่อไป <ref>http://oknation.nationtv.tv/blog/tontong/2009/01/14/entry-1> ด้านการศึกษา สา หรับความร่วมมือด้านการศึกษานั้น รัฐบาลทั้งสองประเทศได้ให้ความสา คัญเป็นอย่างมากเช่นเดียวกัน โดยทั้งสองฝ่ ายมีกิจกรรม ความร่วมมือมากมายเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะโรงเรียนคู่พัฒนา (Partner Schools) ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ฝ่ ายละ 10 แห่ง ในอนาคตอยากจะให้เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งอาจจะเป็นฝ่ ายละ 5 แห่ง นอกจากนี้ยังมี เรื่องการพัฒนาอาชีวศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการต้องการกระตุ้นให้นักเรียนหันมาศึกษาด้าน อาชีวศึกษามากขึ้น ซึ่งการเรียนอาชีวศึกษาในปัจจุบันได้มีความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับภาค อุตสาหกรรมในลักษณะ Twin Partner และเห็นว่าสิงคโปร์มีความก้าวหน้าด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม จึง ต้องการแสวงหาความร่วมมือกับสิงคโปร์ร่วมมือช่วยเหลือด้านการอาชีวศึกษาของไทยอย่างใกล้ชิด <ref>http://www.bic.moe.go.th/newth/index.php?option=com_k2&view=item&id=4375:ambassador -of-the-republic-of-singapore-13-11-2557&Itemid=269>