ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศรีปัญจมุขีหนุมานมนเทียร
شری پنکھ مکھی ہنومان مندر
ศาสนา
ศาสนาศาสนาฮินดู
เขตการาจีตะวันออก
เทพปัญจมุขีหนุมาน
เทศกาลทิวาลี, โฮลี, หนุมานชยันตี
ที่ตั้ง
ที่ตั้งโซลเจอร์บะซาร์
รัฐสินธ์
ประเทศปากีสถาน ประเทศปากีสถาน
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียรตั้งอยู่ในแคว้นสินธ์
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร
ที่ตั้งในแคว้นสินธ์
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียรตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร (ประเทศปากีสถาน)
พิกัดภูมิศาสตร์24°51′38.2″N 67°01′14.1″E / 24.860611°N 67.020583°E / 24.860611; 67.020583
สถาปัตยกรรม
ประเภทโบสถ์พราหมณ์
เริ่มก่อตั้งประมาณ ค.ศ. 500
วัด1
เว็บไซต์
เว็บไซต์ทางการ

ศรีปัญจมุขีหนุมานมนเทียร เป็นโบสถ์พราหมณ์อายุ 1,500 ปีที่ตั้งอยู่ในโซลเจอร์บะซาร์ การาจี แคว้นสินธ์ ประเทศปากีสถาน[1] โดยเป็นโบสถ์พราหมณ์เดียวของโลกที่มีรูปปั้นตามธรรมชาติของหนุมาน[2] โบสถ์พราหมณ์นี้ได้รับการประกาศเป็นมรดกของชาติตามพระราชบัญญัติมรดกวัฒนธรรมแคว้นสินธ์ (การอนุรักษ์) ค.ศ. 1994[3]

ความสำคัญทางศาสนา[แก้]

ด้านข้างของโบสถ์พราหมณ์

เชื่อกันว่าในช่วงที่ถูกเนรเทศ พระรามเสด็จไปยังบริเวณที่โบสถ์นี้ตั้งอยู่ หลังจากนั้นไม่นาน ได้มีการขุดพบรูปปั้นของปัญจมุขีหนุมานจากสถานที่นั้นและสร้างโบสถ์พราหมณ์ขึ้นในจุดนั้น เชื่อกันว่าผู้ศรัทธาคนใดที่เดินวนรอบรูปปั้นปัญจมุขีหนุมานครบ 11 หรือ 21 รอบ คำขอก็จะสำเร็จตามความปรารถนา[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Diwali celebrations begin in Karachi Prayer services, ceremonies organised at temples across the city". Dawn. 27 October 2019. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  2. Rabia Ali (19 February 2012). "Recycling history: And all of Hanuman's men put this temple together again". Express Tribune. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  3. Naimat Khan (3 September 2019). "Centuries-old statues discovered at ancient Hindu temple in Karachi". Arab News. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  4. Shazia Hasan (10 March 2020). "Holi celebrated in Karachi". Dawn. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.