ซิลิกอนเตตระคลอไรด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซิลิกอนเตตระคลอไรด์
ชื่อ
IUPAC name
Silicon (IV) chloride
ชื่ออื่น
Silicon tetrachloride
Tetrachlorosilane
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
EC Number
  • 233-054-0
RTECS number
  • VW0525000
UNII
UN number 1818
  • InChI=1S/Cl4Si/c1-5(2,3)4 checkY
    Key: FDNAPBUWERUEDA-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/Cl4Si/c1-5(2,3)4
  • [Si](Cl)(Cl)(Cl)Cl
คุณสมบัติ
SiCl4
มวลโมเลกุล 169.90 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Colourless liquid
ความหนาแน่น 1.483 g/cm3
จุดหลอมเหลว −68.74 องศาเซลเซียส (−91.73 องศาฟาเรนไฮต์; 204.41 เคลวิน)
จุดเดือด 57.65 องศาเซลเซียส (135.77 องศาฟาเรนไฮต์; 330.80 เคลวิน)
Reaction
ความสามารถละลายได้ soluble in benzene, toluene, chloroform, ether[1]
ความดันไอ 25.9 kPa at 20 °C
−88.3·10−6 cm3/mol
โครงสร้าง
Tetrahedral
4
อุณหเคมี
Std molar
entropy
(S298)
240 J·mol−1·K−1[2]
−687 kJ·mol−1[2]
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 3: Short exposure could cause serious temporary or residual injury. E.g. chlorine gasFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 2: Undergoes violent chemical change at elevated temperatures and pressures, reacts violently with water, or may form explosive mixtures with water. E.g. white phosphorusSpecial hazard W: Reacts with water in an unusual or dangerous manner. E.g. sodium, sulfuric acid
3
0
2
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) MSDS at Oxford University
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Silicon tetrafluoride
Silicon tetrabromide
Silicon tetraiodide
แคทไอออนอื่น ๆ
Carbon tetrachloride
Germanium tetrachloride
Tin(IV) chloride
Titanium tetrachloride
chlorosilanesที่เกี่ยวข้อง
Chlorosilane
Dichlorosilane
Trichlorosilane
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ซิลิกอนเตตระคลอไรด์ (Silicon tetrachloride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์มีสูตรเป็น SiCl4 เป็นของเหลวที่ระเหยง่ายและไม่มีสี ซึ่งจะควันออกสู่อากาศ ใช้สำหรับผลิตซิลิคอนและซิลิกาที่มีความบริสุทธิ์สูงสำหรับการใช้งานเชิงพาณิชย์

การเตรียม[แก้]

ซิลิกอนเตตระคลอไรด์ทำขึ้นโดยการคลอริเนชันของสารประกอบซิลิคอนต่างๆ เช่น เฟอร์โรซิลิกซ์, ซิลิคอนคาร์ไบด์, หรือสารผสมของซิลิคอนไดออกไซด์และคาร์บอน ทั่วไปมักจะใช้ทางเฟอร์โรซิลิกซ์[3]

ในห้องปฏิบัติการ SiCl4 สามารถเตรียมได้โดยการบำบัดซิลิคอนด้วยคลอรีน:[1]

Si + 2 Cl2 → SiCl4

มีการจัดทำขึ้นเป็นครั้งแรกโดย Jöns Jakob Berzelius ใน 1823

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 P. W. Schenk (1963). "Phosphorus(V) fluoride". ใน G. Brauer (บ.ก.). Handbook of Preparative Inorganic Chemistry, 2nd Ed. Vol. 1. NY,NY: Academic Press. pp. 282–683.
  2. 2.0 2.1 Zumdahl, S. S. (2009). Chemical Principles (6th ed.). Houghton Mifflin. p. A22. ISBN 0-618-94690-X.
  3. Simmler, W., "Silicon Compounds, Inorganic", Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, Weinheim: Wiley-VCH, doi:10.1002/14356007.a24_001