คุยกับผู้ใช้:Patcharinth

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับคุณ Patcharinth สู่วิกิพีเดียภาษาไทย หน้าต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์แก่คุณ:

มือใหม่ขอแนะนำอย่างยิ่งให้คุณเริ่มจากแก้หรือต่อเติมบทความที่มีอยู่แล้วก่อน ไม่ควรรีบสร้างบทความด้วยตัวเองเพราะมักไม่ผ่านและถูกลบ

แนะนำเว็บ

และ

เรียนรู้การแก้ไข (ขอใช้เวลาอ่านไม่นานเพื่อให้ทราบพื้นฐาน)

อีกทางหนึ่ง อ่านหน้า การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย ซึ่งสรุปทุกอย่างไว้หน้าเดียว

ฉันอ่านหมดแล้วยังไม่เข้าใจเลย
ถามที่แผนกช่วยเหลือ หรือ ถามในหน้านี้แหละ! หรือ ใช้ แชตดิสคอร์ด

อย่าลืมลงชื่อในหน้าพูดคุย โดยการพิมพ์ --~~~~ จะปรากฏชื่อและวันเวลา

Hello Patcharinth! Welcome to Thai Wikipedia. If you are not a Thai speaker, you can ask a question in our Guestbook.


-- New user message (คุย) 15:14, 5 เมษายน 2562 (ICT)

วงศ์ญาติพระประจนปัจจานึก (จันศรี)[แก้]

วงศ์ญาติเจ้าเมืองราษีไศลท่านแรก จากหนังสือ "อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ" โดยนายสมหมาย ฉัตรทอง (อดีตนายอำเภอราศีไศล, 2561) ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวงศ์ญาติเจ้าเมืองราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ขึ้นในหนังสือ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวได้เป็นวิทยาทานการเผยแพร่ข้อมูลลำดับวงศ์ญาติเจ้าเมือง โดยจากการสัมภาษณ์คุณแม่เป่ง อินธรรม เมื่อยังมีสติสัมปชัญญะดีอยู่ต้นตระกูลอยู่คุ้มวัดเจียงอี อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ พระยาวิเศษภักดีเจ้าเมืองศรีสะเกษคนที่ 3 เป็นบรรพบุรุษคนแรก....

เมื่อปีพุทธศักราชใดไม่ปรากฏหลักฐาน พระยาวิเศษภักดี เจ้าเมืองคนที่ 3 ของเมืองศรีสะเกษ ซึ่งมีเขตแดนในความปกครอง ทางด้านทิศตะวันเฉียงเหนือ ถึงบ้านหนองบัวต้อน อำเภอสุวรรณภูมิ (เมืองศรีภูมิ) ชายทุ่งกุลาร้องไห้ และอำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ดได้พิจารณาเห็นว่าเป็นดินแดนห่างไกลจากศูนย์กลางการปกครองของเมืองศรีสะเกษ ควรให้บุตรชายคนที่ 1 คือ พระพลราชวงศา (จันศรี)ไปหาชัยภูมิที่เหมาะสม สำหรับตั้งเมืองใหม่ขึ้นปกครอง ได้เลือกพื้นที่หลายแห่ง ตั้งแต่บ้านโนน บ้านบอน ตำบลยางชุมน้อย (อำเภอยางชุน้อย ในปัจจุบัน) บ้านแข้ บ้านโนนเมือง อำเภอมหาชนะชัย บ้านน้ำอ้อม บ้านสะเดา อำเภอราษีไศล (ในปัจจุบัน) บ้านเหล่านี้ยังไม่เป็นที่พอใจ และได้สำรวจไปถึงดงหินกอง ริมฝั่งแม่น้ำเสียว ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงาม จึงตกลงใจสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่ดงหินกองแห่งนี้ และมีอาณาบริเวณจนถึงบ้านเมืองเก่าในปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2424 พระบาสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการตั้งเป็นเมืองขึ้น และชื่อเมืองว่า “เมืองราษีไศล” และตั้งให้พระประจนปัจจานึก (จันศรี) เป็นเจ้าเมือง ณ บ้านเมืองเก่าในปัจจุบัน โดยตั้งชื่อตามสภาพหมู่บ้านหินกอง เพราะหมู่บ้านมีหินกองอยู่มาก คำว่า “ไศล” แปลว่าหิน ทรงเห็นว่าเหมาะสมที่สุดพะประจนปัจจานึกได้ปกครองบ้านเมืองอยู่เป็นเวลา 17 ปี จนถึงแก่อนิจกรรมลงในปี พ.ศ. 2441 ได้นำศพไปทำการฌาปนกิจที่โนนราชวงศ์ (กุดหล่มบ้านเมืองเก่า) ขุนบริหารชนบท (ทองคำ) ขึ้นรั้งตำแหน่งเจ้าเมืองราษีไศล ในช่วงปฏิรูปการปกครองหัวเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5 อยู่ 1 ปี จึงยุบเมืองราษีไศล ลงเป็นอำเภอราษีไศล และในปี พ.ศ. 2438 ได้ย้ายเมืองราษีไศล มาตั้งที่บ้านท่าโพธิ์ ท้องที่ตำบลเมืองคง ขุนบริหารชนบท (ทองคำ) จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นนายอำเภอราษีไศล สืบต่อมาจนถึง พ.ศ. 2450 เป็นเวลา 7 ปี จึงได้ทรงพระกรุณาแต่งตั้ง หลวงพิฆาตไพรี (คำเม็ด สุรมิตร) บุตรชายคนเล็กของพระประจนปัจจานึกขึ้นเป็นนายอำเภอราษีไศล พระประจนปัจจานึกแต่งงานกับใครไม่ปรากฏ แต่มีบุตรธิดา 2 คน คือ นาง หมุด และท้าวคำเม็ด สุรมิตร (หลวงพิฆาตไพรี) ระหว่างย้ายเมืองนางหมุดบุตรสาวพระประจนปัจจานึกไม่ได้ย้ายตามมา ณ อำเภอราษีไศล ที่ตำบลเมืองคงด้วย ยังคงอยู่เป็นบรรพบุรุษของลูกหลานบ้านเมืองเก่าสืบมา และมีทายาท 9 คน คือ

1. แม่ใหญ่เฮ้า มีลูก 3 คน คือ

1.1 นางสี แต่งงานกับอาจารย์ธรรมา จำเริญ ไม่มีบุตรจึงขอบุตรคนอื่นมาเลี้ยง 2 คน คือ นางทองมี กับนายสุรัตน์ จำเริญ

1.2 ท้าวโต้น ใบธู (ท้าวเป็นคำนำหน้าผู้ชายยุคนั้น) แต่งงานกับนางทอง มีบุตรธิดา 7 คน

1.2.1 นางทองสี อินทรธรรม

1.2.2 นายพา ใบชู

1.2.3 นางเคน สุธาวัน

1.2.4 นายพุ้ย ใบชา

1.2.5 นายโกวิท ใบชู

1.2.6 นายพรมมา ใบชู

1.2.7 นายคำมี ใบชู

1.3 ท้าวสอน สิงห์ลี แต่งงานกับนางกลม มีบุตรธิดา 7 คน

1.3.1 นายพุฒิ สิงห์ลี

1.3.2 นางอ่อน สิงห์ลี

1.3.3 นางอั้ว สิงห์ลี

1.3.4 นางสำรอง สิงห์ลี

1.3.5 นางคล่อง สิงห์ลี

1.3.6 นายทัด สิงห์ลี

1.3.7 นางประไร จำเริญ

2. พ่อใหญ่พรมบุตร แต่งงานกับนางสิงห์ มีบุตรธิดา 6 คน คือ

2.1 นางตึ ไม่แต่งงาน

2.2 ท้าวเอี่ยม ราศีบุษย์ แต่งงานกับนางเจียง มีบุตรธิดา 5 คน

2.2.1 นายพรหม ราศีบุษย์

2.2.2 นางเทพ ชบา

2.2.3 นางถิน วรรณวงษ์

2.2.4 นางดำรง ราศีบุษย์

2.2.5 นายอัธยา ราศีบุษย์

2.3 นางเสน แต่งงานกับ นายสอน เสมอใจ มีบุตรธิดา 7 คน

2.3.1 นายจันดา เสมอใจ

2.3.2 นางวันดี เสมอใจ

2.3.3 นายบุญมา เสมอใจ

2.3.4 นายผัน เสมอใจ

2.3.5 นายลี เสมอใจ

2.3.6 นางวัน เสมอใจ

2.3.7 นายบุญมี เสมอใจ

2.4 ท้าวพรหมา ไม่มีบุตร

2.5 ท้าวเซียง ราษีบุษย์ แต่งงานกับนางธรรมา มีบุตรธิดา 8 คน

2.5.1 นางทุมมา ราษีบุษย์

2.5.2 นายเผือก ราษีบุษย์

2.5.3 นายสิงห์ ราษีบุษย์

2.5.4 นายสอน ราษีบุษย์

2.5.5 นางมอญ ราษีบุษย์

2.5.6 นายกร ราษีบุษย์

2.5.7 นางหลอด ราษีบุษย์

2.5.8 นางทองสุข ราษีบุษย์

2.6 นางนวล แต่งงานกับนายลุย ม่วงศรี มีบุตรธิดา 2 คน

2.6.1 นางผุย

2.6.2 นางติ่ง

3. แม่ใหญ่น้อย (โหว่) แต่งงานมีบุตรธิดา 6 คน คือ 3.1 นางทอง ย้ายไปอยู่ อำเภอพิบูลมังสาหาร มีบุตรธิดา 3 คน

3.1.1 นายมา

3.1.2 นางจิ

3.1.3 นายสา

3.2 นางเขียว ย้ายไปอยู่บ้านทัพส่วย มีบุตรธิดา 5 คน

3.2.1 นายเฮียง

3.2.2 นายพันธ์

3.2.3 นายวันดี

3.2.4 นายอ่อนสี

3.2.5 นางสา

3.3 นางพันธ์ แต่งงานกับนายลา มีบุตรธิดา 2 คน

3.3.1 นางจุม

3.3.2 นางทา

3.4 นางฝอย แต่งงานกับ นายอึ อินทรศร มีบุตรธิดา 6 คน

3.4.1 นางสาลี พุฒศรี

3.4.2 นายมี อินทรศร

3.4.3 นางสุภี อินทรศร

3.4.4 นางวัน อินทรศร

3.4.5 นางจันทร์ ขำเนตร

3.4.6 นางตฃคำพันธ์ ทันใจ

3.5 นางเพ็ง แต่งงานกับนายแพง วิรุณพันธ์ มีบุตรธิดา 5 คน

3.5.1 นายบุญทัน วิรุณพันธ์

3.5.2 นางมี วิรุณพันธ์

3.5.3 นางบุญมา วิรุณพันธ์

3.5.4 นายนา วิรุณพันธ์

3.5.5 นางพุฒ วิรุณพันธ์

3.6 นางที แต่งงานกับนายพิมพ์ วิรุณพันธ์ มีบุตรธิดา 8 คน

3.6.1 นางทุมมา พรรษา

3.6.2 นางกาสี วิรุณพันธ์

3.6.3 นายจันดี วิรุณพันธ์

3.6.4 นางนารี ทวีสาร

3.6.5 นางคำมี วิรุณพันธ์

3.6.6 นางทองสี วิรุณพันธ์

3.6.7 นางสำลี วิรุณพันธ์

3.6.8 นางสาวนวลฉวี วิรุณพันธ์

4. พ่อใหญ่ทะ ไม่มีบุตร

5. แม่ใหญ่แก้ว แต่งงานกับท้าวพรหมรินทร์ มีบุตรธิดา 6 คน

5.1 นางเป๊าะ แต่งงานกับนายฮ้อยคำ อินทรศร มีบุตรธิดา 5 คน

5.1.1 นางหนูปั่น บัวศรี

5.1.2 นางอำพันธ์ ชบา

5.1.3 นางทองศรี วิชิต

5.1.4 นางสำเร็จ ทันใจ

5.1.5 นายทองใส อินทรศร

5.2 ท้าวใบ ราษีบุตร แต่งงานกับนางพุฒ มีบุตรธิดา 2 คน

5.2.1 นางบัวไข ชบา

5.2.2 นางทองใส นิยม

5.3 นางแป้ง แต่งงานกับอาจารย์สังข์ อินทรธรรม มีบุตรธิดา 4 คน

5.3.1 นายพรหมศาสตร์ อินทรธรรม

5.3.2 นายพลายวาตย์ อินทรธรรม

5.3.3 นายธนูศิลป์ อินทรธรรม

5.3.4 นางเกษสุดา อินทรธรรม

5.4 นางดี แต่งงานกับนายสีบู อินทรธรรม มีบุตรธิดา 3 คน

5.4.1 นายบุญโฮม อินทรธรรม

5.4.2 นายทองสูรย์ อินทรธรรม

5.4.3 นายปาน มณีนิล

5.5 ท้าวต่วน ราษีบุตร แต่งงานกับนางทองมี มีบุตรธิดา 5 คน

5.5.1 นายบุญกอง ราษีบุตร

5.5.2 นางอำพร อรรคบุตร

5.5.3 นางบุปผา ชบา

5.5.4 นางสุวาร ราษีบุตร

5.5.5 นางทองม้วน ทองแย้ม

6. แม่ใหญ่เต่า แต่งงานกับอาจารย์คำ จำเริญ มีบุตรธิดา 6 คน

6.1 นางปุ้ม แต่งงานกับท้าวสิงห์ ขาววิเศษ มีบุตรธิดา 7 คน

6.1.1 นางวันทา (เสียชีวิต)

6.1.2 นายลี ขาววิเศษ

6.1.3 นายสุทธา ขาววิเศษ

6.1.4 นายสุดตา ขาววิเศษ

6.1.5 นายเขียว ขาววิเศษ

6.1.6 นายสุทธี ขาววิเศษ

6.1.7 นางเปี่ยม ขาววิเศษ

6.2 นางดา แต่งงานกับท้าวบุญ สีลา มีธิดา 4 คน

6.2.1 นางธรรมา สุพิน

6.2.2 นางทองสา นิยม

6.2.3 นางพิไลวรรณ ไชยโชค

6.2.4 นางบัวภา (หลิน) ปราบภัย

6.3 นางพา แต่งงานกับ ท้าวพันธ์ ขาววิเศษ มีบุตรธิดา 5 คน

6.3.1 นายวรสิทธิ์ ขาววิเศษ

6.3.2 นางทองสี นาวา

6.3.3 นายสุวรรณ ขาววิเศษ

6.3.4 นางทองจันทร์ หินกอง

6.3.5 นางหวัน ศรเมือง

6.4 ท้าวพรหม แต่งงานกับนางพิมพ์ มีบุตรธิดา 7 คน

6.4.1 นายสุพรรณ จำเริญ

6.4.2 นางเสี่ยน จำเริญ

6.4.3 นางทองสอง จำเริญ

6.4.4 นายจันทร จำเริญ

6.4.5 นางอำพร จำเริญ

6.4.6 นางคำผาย จำเริญ

6.4.7 นางทองสาย จำเริญ

6.5 นางทา แต่งงานกับ ท้าวพิมพ์พา งามเจริญ มีบุตรธิดา 5 คน

6.5.1 นายอำนวย งามเจริญ

6.5.2 นางบุญมา งามเจริญ

6.5.3 นางทอง พรรษา

6.5.4 นายตุ๋ย เชิงหอม

6.5.5 นายสมบูรณ์ งามเจริญ

6.6 ท้าวโฮม จำเริญ แต่งงานกับนางมน มีบุตรธิดา 4 คน

6.6.1 นายทองคำ จำเริญ

6.6.2 นางทองใส จำเริญ

6.6.3 พ.ต.ท.สงคราม จำเริญ

6.6.4 นายด่อน จำเริญ (เสียชีวิต)

7. พ่อใหญ่ทิศเข้ม แต่งงานมีบุตรธิดา 6 คน

7.1 นางหนู แต่งงานกับท้าวลา เชิงหอม มีบุตรธิดา 3 คน

7.1.1 นายทองสูรย์ เชิงหอม

7.1.2 นางคูณ เชิงหอม

7.1.3 นางค่ำ ค้ำคูณ

7.2 ท้าวสาม ปราบภัย แต่งงานกับนางยศ หินกอง มีบุตรธิดา 8 คน

7.2.1 นายบุญเสริม ปราบภัย (เสียชีวิต)

7.2.2 ด.ต.ทวีชัย ปราบภัย (เสียชีวิต)

7.2.3 นางสุวรรณ อบเชย (เสียชีวิต)

7.2.4 นางบัวศรี ปราบภัย (เสียชีวิต)

7.2.5 นางแก้ว ปราบภัย (เสียชีวิต)

7.2.6 จ.ส.ต.ประศาสตร์ ปราบภัย (เสียชีวิต)

7.2.7 นางแพงศรี ปราบภัย

7.2.8 นางปราณี (ปราบภัย) กายตะขบ แต่งงานกับนายนิยม นาครินทร์ (เสียชีวิต) มีบุตร 1คน และแต่งงานใหม่กับนายบุญจันทร์ กายตะขบ มีบุตร 1 คน

7.2.8.1 นางสาวพัชรินทร์ (นาครินทร์) ธนฤทธิ์ไพศาล

7.2.8.2 นายพงษ์พันธ์ กายตะขบ

7.3 ท้าวโม้ แต่งงานกับ นางปัด มีธิดา 2 คน

7.3.1 นายสี

7.3.2 นางทองจันทร์

7.4 ท้าวเดือน แต่งงานกับนางบุญมา มีบุตรธิดา 3 คน

7.4.1 นายสี

7.4.2 นางสำเนียง

7.4.3 นางจำรัส

7.5 ท้าวแดง แต่งงานมีบุตร 1 คน

7.5.1 นายอุดม

7.6 นางเลื่อน แต่งงานกับนายดี นิยม มีบุตรธิดา 3 คน

7.6.1 นายพรมมาตร นิยม

7.6.2 นางแห้ว นิยม

7.6.3 นางทุมมา นิยม

8. แม่ใหญ่ทุม บุตรธิดาเสียชีวิตหมดแล้ว 9. พ่อใหญ่เมือง (สิบเอกเมือง) แต่งงานกับนางสุกรรณ มีบุตร 1 คน

(เคยไปควบคุมการก่อสร้าง ในค่ายสรรพสิทธิ์ประสงค์ จ.อุบลราชธานี)


9.1 ท้าวพิณ รับราชการเป็นทหารอากาศ ในสมัยสงครามฝรั่งเศส มียศเป็น ร.อ.อ. ภายหลังได้ลาออกจาราชการไป

หมายเหตุ ญาติที่ย้ายมาจากเมืองราษีไศล (บ้านเมืองเห่า) ตามเจ้าเมืองมา ณ ที่ตั้งเมืองราษีไศลแห่งใหม่ที่สืบสกุลกันต่อมา คือ นามสกุล สุรมิตร สารพันธ์ ไชยเสนา กรองทอง โดยได้ขอตั้งนามสกุลตามประกาศใช้พระราชบัญญัตินามสกุล เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2455 มีผลบังคับใช้วันที่ 1 กรกฎาคม 2456 ในสมัยรัชกาลที่ 6 ผู้เล่าเร่องนี้อาจจะจำนามสกุลทายาทนางหมุด บ้านเมืองเก่า บางคนได้บ้างไม่ได้บ้าง บางคนได้เสียชีวิตลงแล้ว ไม่ได้วงเล็บว่าเสียชีวิต และคงได้เสียชีวิตภายหลังจากการจดบันทึกไว้คงมีอีกมากต้องขออภัย ผู้เล่าจำได้มากและละเอียดขนาดนี้ถือว่าดีที่สุดแล้ว ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมต้องไปสืบสาวเอาเอง บทความนี้จะเป็นเสมือนต้นเรื่องแนวทางที่จะสืบหาวงศาคณาญาติ เจ้าเมืองราษีไศลท่านแรกกันต่อไป ต้นฉบับไม่ปรากฏนามผู้จดบันทึกไว้ (ข้อมูลเรื่องนี้คุณประถม วิชัยดิษฐ์ เก็บรวบรวมมา)

เกล็ดเรื่องเมืองเก่า

บ้านเลขที่ 49 บ้านเมืองเก่า หมู่ที่ 4 ตำบลกุง อำเภอศิลาลาด

เมื่อปี พ.ศ. 2424 ได้ตั้งเมืองราษีไศล ที่บ้านโนนหินกองแล้ว ต่อมา ปี พ.ศ. 2438 ได้ย้ายเมืองราษีไศล มาตั้งที่ริมแม่น้ำมูล ที่บ้านท่าโพธิ์ ตำบลเมืองคง พื้นที่ตั้งเมืองครั้งแรกได้มีชื่อเรียกกันต่อมาว่า “บ้านเมืองเก่า” ในปี พ.ศ. 2540 ได้แยกพื้นที่อำเภอราษีไศลตั้งเป็นกิ่งอำเภอศิลาลาด บ้านเมืองเก่าได้ตั้งเป็นหมู่ที่ 4 ตำบลกุง อำเภอศิลาลาด

ปี พ.ศ. 2466 มีการจัดตั้งโรงเรียนประชาบาลขึ้นเป็นครั้งแรกได้อาศัยศาลากลางบ้านเป็นอาคารเรียน ต่อมา ปี พ.ศ. 2471 โรงเรียนได้ย้ายไปอาศัยศาลาวัด ปัจจุบันโรงเรียนได้สร้างอาคารเรียนเป็นเอกเทศแล้ว ศาลากลางบ้านแห่งนี้เคยเป็นที่ว่าราชการเมืองราษีไศลมาก่อนปัจจุบันคือบ้านเลขที่ 49 บ้านเมืองเก่า หมู่ที่ 4 ตำบลกุง อำเภอศิลาลาด นั้นเอง ซึ่งเป็นบ้านของนางจำปี ขาววิเศษ ทายาทลูกหลานแม่ใหญ่เต่าธิดาคนที่ 6 ของนางหมุดที่เป็นธิดาของพระประจนปัจจานึก (จันศรี) ที่ไม่ได้ย้ายตามเจ้าเมืองผู้เป็นบิดามาอยู่ที่ตำบลเมืองคง --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ Patcharinth (พูดคุยหน้าที่เขียน) 15:29, 5 เมษายน 2562 (ICT)