คุยกับผู้ใช้:Btybtybty

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับคุณ Btybtybty สู่วิกิพีเดียภาษาไทย หน้าต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์แก่คุณ:

มือใหม่ขอแนะนำอย่างยิ่งให้คุณเริ่มจากแก้หรือต่อเติมบทความที่มีอยู่แล้วก่อน ไม่ควรรีบสร้างบทความด้วยตัวเองเพราะมักไม่ผ่านและถูกลบ

แนะนำเว็บ

และ

เรียนรู้การแก้ไข (ขอใช้เวลาอ่านไม่นานเพื่อให้ทราบพื้นฐาน)

อีกทางหนึ่ง อ่านหน้า การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย ซึ่งสรุปทุกอย่างไว้หน้าเดียว

ฉันอ่านหมดแล้วยังไม่เข้าใจเลย
ถามที่แผนกช่วยเหลือ หรือ ถามในหน้านี้แหละ! หรือ ใช้ แชตดิสคอร์ด

อย่าลืมลงชื่อในหน้าพูดคุย โดยการพิมพ์ --~~~~ จะปรากฏชื่อและวันเวลา

Hello Btybtybty! Welcome to Thai Wikipedia. If you are not a Thai speaker, you can ask a question in our Guestbook.


-- New user message (คุย) 14:40, 21 กุมภาพันธ์ 2561 (ICT)

โรงเรียนบ้านท่ายาง อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี[แก้]

โรงเรียนบ้านท่ายาง อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี โรงเรียนบ้านท่ายาง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ตำบลยางหัก อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรีเขต ๑ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ โดยมีนายจันทร์ สมบูรณ์กุล ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี นายพราว สุทธิศรี ศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี นายศักดิ์ สมสกุล นายอำเภอปากท่อ ได้เดินทางด้วยรถจิ๊บ บุกป่าเข้ามาเยี่ยมชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงที่บ้านท่ายาง เห็นสภาพเด็กๆ ที่ไม่มีโรงเรียนเพื่อเรียนหนังสือ จึงได้ปรึกษาหารือกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้านในตำบลยางหัก และท่านเจ้าคุณพระพิบูลธรรมวาที เจ้าคณะอำเภอปากท่อ ได้ตกลงสร้างวัด และโรงเรียนเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชาวบ้านและเด็กๆ โดยอาศัยศาลาประชาคมเก่าประจำหมู่บ้านเป็นห้องเรียนชั่วคราว จนกว่าจะปลูกสร้างโรงเรียนเสร็จ ในที่สุดก็สร้างอาคารเรียนเสร็จเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๐๗ โดยตั้งชื่อว่าโรงเรียนบ้านท่ายาง เปิดทำการสอนครั้งแรกมีนายปิ่น ภมร เป็นครูใหญ่ นายสมบูรณ์ พงษ์ทวี เป็นครูประจำชั้น มีนักเรียน ๒๔ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จทรงงานหมู่บ้านท่ายางและเสด็จมาโรงเรียนบ้านท่ายางทรงปลูกต้นลีลาวดี และต้นมะพร้าวที่โรงเรียนบ้านท่ายางไว้เป็นพระอนุสรณ์

ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓  ได้เปิดทำการสอนระดับ  ป.๑ – ป.๖ มีนักเรียน ๑๐๐ คน ครู ๖ คน    ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑  ได้เปิดทำการสอนระดับ  ระดับอนุบาล โดยมีนักเรียนรวม  ๑๐๔ คน ครู ๗ คน

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ได้รับอาคารเรียนชั้นเดียว แบบ ป.๑ก รบ.๒๒๕๓ จำนวน ๓ ห้องเรียน หลังคาทรงมะลิลา งบประมาณ ปี ๒๕๐๙ ราคา ๖๐๐,๐๐๐ บาท (ปลูกในเขตป่าสงวนแห่งชาติ) ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้รับโรงอาหารชั้นเดียวหลังคาทรงมะลิ รบ.๒๒๕๙ จำนวน ๑ หลัง งบประมาณ ปช.ลต.(เงินผัน) ๙๒,๐๗๐ และซ่อมบำรุง ๒๕๔๓ พื้น ฝา หลังคา เป็นเงิน ๑๑๙,๒๐๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้รับถังน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก ๖ ถัง ฝ.๓๐ รบ.๒๒๖๒ จำนวน ๖ ถัง งบประมาณ งบประมาณ ๒๑,๑๕๕ (ถังเก็บน้ำฝน) ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้รับเสาธงเหล็ก รบ.๒๒๖๒ งบประมาณ งบประมาณ ปช.สต. จำนวน ๗๐,๐๐๐ (เสาธงชาติ) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ได้รับบ้านพักครู อาคาร ๒ ชั้น แบบองค์การฯ หลังคาทรงสเปน รบ.๒๒๕๖ จำนวน ๑ หลัง หลังคาทรงสเปน งบประมาณ ๑๗๐,๐๐๐ บาท (ปัจจุบันรื้อถอนแล้ว) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ได้รับบ้านพักครู อาคาร ๒ ชั้น แบบองค์การฯ หลังคาทรงสเปน รบ.๒๒๕๖ จำนวน ๑ หลัง หลังคาทรงสเปน งบประมาณ ๑๗๐,๐๐๐ บาท (ปัจจุบันรื้อถอนแล้ว) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้รับถังน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓๐ รบ.๒๒๖๓ งบประมาณ ก.ส.ช. งบประมาณ ๔๕,๐๐๐ (ถังเก็บน้ำฝน) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รับถังน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ถัง รบ.๒๒๖๔ จำนวน ๓ ถัง งบประมาณ ๑๕,๐๐๐ (ถังเก็บน้ำฝน) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รับอาคารเรียนชั้นตึกชั้นเดียว แบบ ป.๑ ก รบ.๒๒๕๔ จำนวน ๖ ห้องเรียน หลังคาทรงมะลิลา งบประมาณ ปี ๒๕๒๔ ราคม ๘๑๐,๐๐๐ บาท (ปลูกในเขตป่าสงวนแห่งชาติ) เป็นห้องเรียน ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้รับบ้านพักครู อาคาร ๒ ชั้น แบบองค์การฯ หลังคาทรงสเปน รบ.๒๒๕๗ จำนวน ๑ หลัง หลังคาทรงสเปน งบประมาณ ๑๗๐,๐๐๐ บาท (บ้านพักอาศัย) ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับบ้านพักครู อาคาร ๒ ชั้น แบบองค์การฯ หลังคาทรงสเปน รบ.๒๒๕๘ จำนวน ๑ หลัง หลังคาทรงสเปน งบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาท (บ้านพักอาศัย) ซ่อมหลังคา ประตู มุ้งลวด ทาสี ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับถังน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กสี่เหลี่ยม รบ.๒๒๖๕ งบประมาณ ๒๒๐,๐๐๐ (ถังเก็บน้ำฝน) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับอาคารเฉลียมพระเกียรติ ๑ ห้อง ยาว ๒๐.๕๐ เมตร กว้าง ๘ เมตร แบบเขียนเองสามัญ ๑๓๓๖ รบ.๔๖๖๗ จำนวน ๑ หลัง เงินบริจาคประชาชนร่วมก่อสร้าง จำนวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท (เป็นอาคารเอนกประสงค์ และห้องสมุด) ในปี ๒๕๕๖ ได้ปรับปรุงต่อเติม ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ จำนวน ๓๓๕,๘๔๒ บาท ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับอาคารเรียนชั้นเดียว แบบ สปช.๑๐๒/๒๖ จำนวน ๓ ห้องเรียน งบประมาณ ปี ๒๕๕๙ ราคม ๑,๖๒๐,๙๐๐ บาท ขนาดความกว้า ๖ เมตร ยาว ๒๗ เมตร และ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ติดตั้งเหล็กดัด ปูกระเบื้อง ด้วยการจัดผ้าป่าการศึกษา จำนวน ๙๗,๐๐๐ บาท รายนามผู้บริหารโรงเรียน ในปี พ.ศ.๒๕๐๗ นายปิ่น ภมร (๑๖ ก.ย. ๒๕๐๗-๒๖ พ.ค.๒๕๑๐) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๑๐ นายทองสุก สาลีวรรณ (๒๗ พ.ค. ๒๕๑๐-๒๖ ส.ค.๒๕๑๑) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ปี พ.ศ.๒๕๑๑ นายมงคล สมโภช (๗ ก.ย. ๒๕-๑๒ พ.ค.๒๕๑๓) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ นายสุวิช แสงรุ่งเรือง (๑๓ พ.ค.๒๕๑๓-๓ มิ.ย..๒๕๑๔) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ นายวินัย เทพทิตย์ (๔ มิ.ย.๒๕๑๔-๓๐ เม.ย..๒๕๑๕) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๑๕ นายทองหล่อ วรานนท์ (๑๗ พ.ค.๒๕๑๕-๓๐ ก.ย..๒๕๓๓) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๓๓ นายสมยศ หลงสมบูรณ์ (๓๑ พ.ค.๒๕๓๔-๑ พ.ย..๒๕๓๗) ตำแหน่งครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ นายชูศักดิ์ น่วมทนงค์ (๑ พ.ย.๒๕๓๗-๒๐ พ.ค..๒๕๓๙) ตำแหน่ง ครูใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ นายสุวิน พัดเย็น (๒๐ พ.ค.๒๕๓๙-๒๘ พ.ย.๒๕๕๖) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ นายยุทธพล ทับลา (๒๓ ธ.ค.๒๕๕๙- ปัจจุบัน) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ Btybtybty (พูดคุยหน้าที่เขียน) 14:43, 21 กุมภาพันธ์ 2561 (ICT)