ข้ามไปเนื้อหา

ความถี่มูลฐาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การสั่นและคลื่นนิ่งในสาย (เช่นในสายเครื่องดนตรี) เป็นความถี่มูลฐาน (บนสุด) และเสียง overtone 6 ความถี่แรก

ความถี่มูลฐาน[1] (อังกฤษ: fundamental frequency) ซึ่งในภาษาอังกฤษอาจเรียกอย่างโดด ๆ ว่า "fundamental" นิยามว่าเป็นความถี่ต่ำสุดของรูปคลื่นแบบเป็นคาบ ในดนตรี ความถี่มูลฐานก็คือเสียงสูงต่ำของโน้ตดนตรีที่ได้ยินโดยเป็นคลื่นรูปไซน์ (partial) ที่ความถี่ต่ำสุดซึ่งได้ยิน ถ้าดูการซ้อนทับของคลื่นรูปไซน์ (เช่น อนุกรมฟูรีเย) ความถี่มูลฐานก็คือคลื่นรูปไซน์ความถี่ต่ำสุดในผลรวม ในบางกรณี ความถี่มูลฐานจะเขียนเป็นเครื่องหมาย f0 (หรือ FF) ซึ่งระบุความถี่ต่ำสุดจาก 0[2][3] ในบางกรณี ก็จะเขียนเป็นเครื่องหมาย f1 ซึ่งหมายถึงฮาร์มอนิกแรก[4][5][6] (ฮาร์มอนิกที่สองก็จะเป็น f2 = 2⋅f1 เป็นต้น และในบริบทนี้ ฮาร์มอนิกที่ 0 ก็จะเป็น 0 Hz)

ดูเพิ่ม

[แก้]

เชิงอรรถและอ้างอิง

[แก้]
  1. "fundamental frequency", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (ภาษาศาสตร์) ความถี่มูลฐาน
  2. "sidfn". Phon.ucl.ac.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 2012-11-27.
  3. "Fundamental Frequency of Continuous Signals" (PDF). Fourier.eng.hmc.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 2012-11-27.
  4. "Standing Wave in a Tube II - Finding the Fundamental Frequency" (PDF). Nchsdduncanapphysics.wikispaces.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 2012-11-27.
  5. "Phys 1240: Sound and Music" (PDF). Colorado.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 2012-11-27.
  6. "Standing Waves on a String". Hyperphysics.phy-astr.gsu.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-07. สืบค้นเมื่อ 2012-11-27.