การระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

{{Infobox event |image = 2014 ebola virus epidemic in West Africa simplified.svg |image_size = 300px |caption = ภาพจำลองการระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก |date = ธันวาคม ค.ศ.2013 – มิถุนายน ค.ศ.2016[1][2] |casualties1=

  • Note: current estimates suggest that between 17 percent and 70 percent of Ebola cases were unreported.[3]

{{aligned table|class=wikitable|fullwidth=y|cols=4 | row1header = yes|col2style=text-align:right|col3style=text-align:right | ประเทศ | ติดเชื้อ | เสียชีวิต | ล่าสุด
ในวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ.2016 โดย WHO | [[Ebola virus epidemic in Liberia|ไลบีเรีย | 10,675 | 4,809 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ.2016[2]

| [[Ebola virus epidemic in Sierra Leone|เซียร์ราลีโอน | 14,124 | 3,956 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ.2016[4]

| [[Ebola virus epidemic in Guinea|กินี | 3,811 | 2,543 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ.2016[5]

| [[Ebola virus disease in Nigeria|ไนจีเรีย | 20 | 8 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ.2014[6]

| [[Ebola virus disease in Mali|มาลี | 8 | 6 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 18 มกราคม ค.ศ.2015[7]

| [[Ebola virus cases in the United States|สหรัฐ | 4 | 1 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ.2014[8]

| อิตาลี | 1 | 0 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.2015[9]

| [[Ebola virus disease in the United Kingdom|สหราชอาณาจักร | 1 | 0 | การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ.2015[10]

| เซเนกัล | 1 | 0 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ.2014[6]

| [[Ebola virus disease cases in Spain|สเปน | 1 | 0 |การระบาดของโรคสิ้นสุดลงในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ.2014[11]

| row12style=font-weight:bold; background-color:#f0f0f0 | รวม | 28,646 | 11,323 | ข้อมูลเมื่อ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 2016 (2016 -05-08) }} }} การระบาดกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ของโรคไวรัสอีโบลา เริ่มในประเทศกินีในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 และยังมีการเสียชีวิตอย่างสำคัญเรื่อยมาเป็นเวลาสองปี จนกำลังมีการประกาศว่ายุติในเดือนมกราคม พ.ศ. 2559[12] โรคระบาดกระจุกอยู่ในหลายประเทศแอฟริกาตะวันตก ได้แก่ ประเทศไลบีเรีย กินีและเซียร์ราลีโอน โดยมีการระบาดขนาดเล็กที่อื่น โรคมีอัตราตายสำคัญ โดยอัตราป่วยตายที่รายงานถึง 70%[13][14][15][note 1] และโดยเฉพาะ 57–59% ของผู้ป่วยที่เข้ารักษาในโรงพยาบาล[16] มีการอธิบายโรคไวรัสอีโบลาครั้งแรกในปี พ.ศ. 2519 ในการระบาดพร้อมกันสองครั้งในซูดานใต้และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แต่ครั้งนี้เป็นการระบาดของอีโบลาครั้งแรกในอนุทวีปแอฟริกาตะวันตก การระบาดเริ่มในกินีในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 แล้วลามไปไลบีเรียและเซียร์ราลีโอน[13] เกิดการระบาดเล็กในประเทศไนจีเรียและมาลี[7][17] และมีผู้ป่วยเดี่ยวในประเทศเซเนกัล[18] สหราชอาณาจักรและซาร์ดีเนีย[15] ผู้ป่วยจากนอกประเทศในสหรัฐอเมริกาและสเปนนำสู่การติดเชื้อทุติยภูมิของบุคลากรทางการแพทย์ แต่มิได้แพร่ไปอีก[19][20] วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2559 องค์การอนามัยโลก (WHO) และรัฐบาลที่เกี่ยวข้องรายงานผู้ป่วยต้องสงสัยรวม 28,638 คน และเสียชีวิต 11,315 คน[21] แม้องค์การอนามัยโลก เชื่อว่าตัวเลขนี้ประเมินขนาดของการระบาดครั้งนี้ต่ำกว่าจริงมากพอควร[22][23] องค์การอนามัยโลกยังเตือนว่าอาจเกิดการระบาดเล็กอีกในอนาคต และควรระมัดระวังต่อไป[24]

ครั้งนี้เป็นการระบาดของอีโบลาครั้งแรกที่แตะสัดส่วนโรคระบาด การระบาดครั้งก่อน ๆ สามารถควบคุมได้ในไม่กี่สัปดาห์ ความยากจนสุดขั้ว ระบบสาธารณสุขที่ทำหน้าที่บกพร่อง ข้าราชการที่ไม่ไว้วางใจหลังการขัดกันด้วยอาวุธนานหลายปี และความล่าช้าในการสนองตอบการระบาดเป็นเวลาหลายเดือนทั้งหมดล้วนส่งเสริมให้การควบคุมโรคระบาดล้มเหลว ปัจจัยอื่นมีขนบธรรมเนียมฝังศพของท้องถิ่นที่ชำระศพหลังเสียชีวิตและการแพร่ไปนครที่มีประชากรอยู่หนาแน่น[25][26][27][28][29] เมื่อโรคระบาดแพร่กระจาย หลายโรงพยาบาลซึ่งขาดแคลนเจ้าหน้าที่และเวชภัณฑ์ ไม่สามารถแบกรับภาระไหวและปิด ทำให้ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขบางคนแถลงว่า ความไร้สามารถรักษาความต้องการทางการแพทย์อื่นอาจทำให้ "ยอดผู้เสียชีวิตเพิ่ม[ซึ่ง]เป็นไปได้ว่าอาจสูงกว่าโรคระบาดเอง"[30][31] เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลซึ่งทำงานใกล้ชิดกับสารคัดหลั่งที่ติดต่อทางสัมผัสของผู้เป็นโรค เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นพิเศษต่อการรับเชื้อ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 องค์การอนามัยโลก รายงานว่า ร้อยละ 10 ของผู้เสียชีวิตเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข[32] ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 มีการประมาณว่า ขีดความสามารถของประเทศสำหรับการรักษาผู้ป่วยอีโบลานั้นขาดเทียบเท่า 2,122 เตียง ในเดือนธันวาคม มีจำนวนเตียงเพียงพอรักษาและแยกผู้ป่วยอีโบลาที่มีรายงานทั้งหมด แม้การกระจายของผู้ป่วยที่ไม่สม่ำเสมอส่งผลให้มีการขาดแคลนอย่างรุนแรงในบางพื้นที่[33] วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558 องค์การอนามัยโลก รายงานว่า เป็นครั้งแรกนับแต่สัปดาห์ที่ 29 มิถุนายน 2557 ซึ่งมีรายงานผู้ป่วยยืนยันใหม่น้อยกว่า 100 คนในสามประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด จากนั้นการสนองตอบโรคระบาดเคลื่อนไประยะที่สอง เมื่อความสนใจเปลี่ยนจากการชะลอการแพร่เชื้อเป็นการหยุดโรคระบาด[34] วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 องค์การอนามัยโลก รายงานว่ามีผู้ป่วยยืนยันรวมเพียง 30 คน[35] และการปรับรายสัปดาห์ของวันที่ 29 กรกฎาคมรายงานผู้ป่วยเพียง 7 คน[36] วันที่ 7 ตุลาคม 2558 ประเทศที่ได้รับผลกระทบร้ายแรงที่สุดทั้งสามประเทศบันทึกว่าไม่มีผู้ป่วยใหม่ในสัปดาห์นั้นเป็นครั้งแรก[37] ทว่า เมื่อปลายปี 2558 แม้การระบาดขนาดใหญ่จะยุติลงแล้ว แต่ยังมีผู้ป่วยใหม่เกิดห่าง ๆ เกิดอยู่ ซึ่งขัดขวางความหวังที่จะสามารถประกาศว่าโรคระบาดสิ้นสุดลงแล้ว[38]

วันที่ 8 สิงหาคม 2557 องค์การอนามัยโลกประกาศให้การระบาดนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เป็นปัญหาระหว่างประเทศ[39] WHO ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าลงมือปฏิบัติล่าช้าเพื่อจัดการกับโรคระบาดนี้[40] เดือนกันยายน 2557 แพทย์ไร้พรมแดน องค์การนอกภาครัฐซึ่งมีเจ้าหน้าที่มากที่สุดที่ทำงานในประเทศที่ได้รับผลกระทบ วิจารณ์การสนองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อวันที่ 3 กันยายน ประธานแพทย์ไร้พรมแดนกล่าวถึงการขาดความช่วยเหลือจากประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ว่า "หกเดือนกับโรคระบาดอีโบลาที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ โลกกำลังพ่ายการต่อสู้เพื่อจำกัดมัน"[41] ในถ้อยแถลงเมื่อวันที่ 26 กันยายน องค์การอนามัยโลกแถลงว่า "โรคระบาดอีโบลาซึ่งกำลังผลาญแอฟริกาตะวันตกบางส่วนเป็นภาวะฉุกเฉินสาธารณสุขเฉียบพลันที่รุนแรงที่สุดที่พบในสมัยใหม่" และผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก มาร์กาเรต ชาน เรียกโรคระบาดนี้ว่า "ใหญ่สุด ซับซ้อนที่สุด และรุนแรงที่สุดเท่าที่เราเคยเห็น"[42] ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มพัฒนาสหประชาชาติรายงานว่า เนื่องจากการลดการค้า การปิดพรมแดน การยกเลิกเที่ยวบินและการลงทุนต่างชาติและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดจากความเสื่อมเสีย โรคระบาดนี้ได้ส่งผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจใหญ่หลวงทั้งในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในแอฟริกาตะวันตกและแม้แต่ในชาติแอฟริกาอื่นที่ไม่มีผู้ป่วยอีโบลา[43]

วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 WHO ประกาศ "การพัฒนาที่มีความหวังอย่างยิ่ง" ในการแสวงวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสำหรับโรคอีโบลา ขณะที่วัคซีนนี้แสดงประสิทธิพลัง 100% ในปัจเจกบุคคล แต่จำเป็นต้องมีหลักฐานที่สรุปได้มากกว่านี้ถึงขีดความสามารถในการป้องกันประชากรผ่านภูมิคุ้มกันหมู่ก่อน[44][45]

ในเดือนสิงหาคม 2558 หลังมีความคืบหน้าพอควรในการลดขนาดของโรคระบาด WHO จัดการประชุมเพื่อดำเนิน "แผนการดูแลครอบคลุมสำหรับผู้รอดชีวิตอีโบลา" และระบุการวิจัยที่ต้องการทำให้การดูแลเชิงคลินิกและความเป็นอยู่ดีทางสังคมให้เหมาะที่สุด ปัญหาพิเศษ คือ การวิจัยล่าสุดที่แสดงว่าผู้รอดชีวิตจากอีโบลาบางคนประสบสิ่งที่เรียก กลุ่มอาการหลังอีโบลา ซึ่งมีอาการรุนแรงจนผู้นั้นอาจต้องดูแลรรักษาทางการแพทย์เป็นเวลาหลายเดือนถึงหลายปี[46][47] เมื่อโรคระบาดใกล้สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 สหประชาชาติประกาศว่า มีเด็กกำพร้า 22,000 คนจากการเสียบิดาหรือมารดาหรือทั้งสองเนื่องจากอีโบลา[48]

ตาราง[แก้]

Major Ebola virus outbreaks by country and by date – 13 Sept 2015 to most recent WHO / Gov update- 6 Jan 2016
Note: Cases include confirmed, probable and suspected per the WHO, numbers are the cumulative figures as published on the given date, and due to retrospective revisions differences between successive weekly totals are not necessarily the number of new cases that week.
Date Total Guinea Liberia Sierra Leone Sources
Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths
6 Jan 2016 28,542 11,299 3,806 2,535 10,675 4,809 14,061 3,955 [note 2][49]
23 Dec 2015 28,542 11,299 3,806 2,535 10,676 4,809 14,061 3,955 [50]
9 Dec 2015 28,542 11,299 3,806 2,535 10,675 4,809 14,061 3,955 [51]
25 Nov 2015 28,539 11,298 3,806 2,535 10,672 4,808 14,061 3,955 [52]
11 Nov 2015 28,539 11,298 3,806 2,535 10,672 4,808 14,061 3,955 [53]
25 Oct 2015 28,539 11,298 3,800 2,534 10,672 4,808 14,061 3,955 [54]
11 Oct 2015 28,454 11,297 3,800 2,534 10,672 4,808 13,982 3,955 [55]
Minor Ebola virus outbreaks by country and by date – 30 July 2014 to most recent WHO / Gov update 30 Aug 2015
Date Total Nigeria Senegal United States Spain Mali United Kingdom Italy Refs
Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths Cases Deaths
30 Aug 2015 36 15 20 8 1 0 4 1 1 0 8 6 1 0 1 0 [note 3][56]
29 Dec 2014 35 15 20 8 1 0 4 1 1 0 8 6 1 0 [note 4][15]
14 Dec 2014 32 15 20 8 1 0 4 1 1 0 6 6 [57]
2 Nov 2014 27 10 20 8 1 0 4 1 1 0 1 1 [58]
12 Oct 2014 23 8 20 8 1 0 1 0 1 0 - [59]
28 Sep 2014 22 8 20 8 1 0 1 0 - - [60]
30 Jul 2014 3 1 3 1 - [61]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. The mortality rate (death/case ratio) recorded in Liberia up to 26 August 2014 was 70%.[14] However, the general estimated case fatality rate (70.8%) for this ongoing epidemic differs from the ratio of the number of deaths divided by that of cases due to the estimation method used. Current infections have not run their course, and the estimate may be poor if reporting is biased towards severe cases.
  2. 25 Oct: All governments as per WHO.
  3. No change in Data from 13 May till 30 Aug
  4. 29 December: All governments as per WHO. United Kingdom case dated 29 December.

อ้างอิง[แก้]

  1. "WHO Director-General addresses the Executive Board". สืบค้นเมื่อ 9 June 2016.
  2. 2.0 2.1 Brice, Makini (9 June 2016). "WHO declares Liberia free of active Ebola virus transmission". Thomson Reuters Foundation. สืบค้นเมื่อ 16 October 2016.
  3. Donald G. McNeil Jr. (16 December 2015). "Fewer Ebola cases go unreported than thought, study finds". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 23 July 2015.
  4. "Ebola Situation Report – 16 March 2016 | Ebola". World Health Organization. สืบค้นเมื่อ 28 October 2016.
  5. "End of Ebola transmission in Guinea". WHO Regional Office for Africa. 2015. สืบค้นเมื่อ 9 June 2016.
  6. 6.0 6.1 Ebola Response Roadmap Situation Report (PDF) (Report). WHO. 22 October 2014. สืบค้นเมื่อ 22 October 2014.
  7. 7.0 7.1 "Ebola situation report" (PDF). World Health Organization. 21 January 2015. สืบค้นเมื่อ 22 January 2015.
  8. "Ebola response roadmap – Situation report 24 December 2014". World Health Organization. 26 December 2014. สืบค้นเมื่อ 29 December 2014.
  9. "Ebola situation report". World Health Organization. 22 July 2015.
  10. United Kingdom is declared free of Ebola virus disease (Report). WHO Europe. สืบค้นเมื่อ 11 March 2015.
  11. "Situation summary". World Health Organization. 5 December 2014. สืบค้นเมื่อ 6 December 2014.
  12. "Ebola epidemic to be declared over as Liberia expects all-clear". the Guardian. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.
  13. 13.0 13.1 WHO Ebola Response Team (23 September 2014). "Ebola virus disease in West Africa — the first 9 months of the epidemic and forward projections". New England Journal of Medicine. doi:10.1056/NEJMoa1411100. ...we estimate that the case fatality rate is 70.8% (95% confidence interval [CI], 69 to 73) among persons with known clinical outcome of infection.
  14. 14.0 14.1 "Case Fatality Rate for ebolavirus". Ebola data and statistics. 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-29. สืบค้นเมื่อ 28 January 2015.
  15. 15.0 15.1 15.2 "Ebola response roadmap – situation report – 31 December 2014" (PDF). World Health organization. 31 December 2014. สืบค้นเมื่อ 1 January 2015. The reported case fatality rate in the three intense-transmission countries among all cases for whom a definitive outcome is known is 71%.
  16. "Ebola Situation report". Ebola data and statistics. World Health Organization. 12 January 2015. สืบค้นเมื่อ 28 January 2015.
  17. "UPDATE 1-Mali confirms new case of Ebola, locks down Bamako clinic". Reuters. Reuters. 12 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-16. สืบค้นเมื่อ 15 November 2014.
  18. "Ebola response roadmap situation report update" (PDF). World Health Organization. 7 November 2014. สืบค้นเมื่อ 7 November 2014.
  19. "Una enfermera que atendió al misionero fallecido García Viejo, contagiada de ébola" (ภาษาสเปน). El Mundo. 6 October 2014. สืบค้นเมื่อ 6 October 2014.
  20. "WHO: Ebola outbreak situation report" (PDF). 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 15 October 2014.
  21. "WHO - Latest Ebola outbreak over in Liberia; West Africa is at zero, but new flare-ups are likely to occur". World Health Organization. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.
  22. Meltzer, Martin I.; Atkins, Charisma Y.; Santibanez, Scott; Knust, Barbara; Petersen, Brett W.; Ervin, Elizabeth D.; Nichol, Stuart T.; Damon, Inger K.; Washington, Michael L. (26 September 2014). "Estimating the future number of cases in the Ebola epidemic — Liberia and Sierra Leone, 2014–2015". Morbidity and Mortality Weekly Report. Centers for Disease Control and Prevention.
  23. "WHO: New Ebola cases could be up to 10,000 per week in 2 months". The Huffington Post. 14 October 2014. สืบค้นเมื่อ 14 October 2014.
  24. Melvin, Dan (January 14, 2016). "WHO says W. Africa's Ebola-free; new flare-ups possible". CNN. สืบค้นเมื่อ 2016-01-14.
  25. "Ebola response roadmap situation report" (PDF). World Health Organization. p. 6. สืบค้นเมื่อ 25 September 2014.
  26. "Runaway doctors and missing supplies cripple care in Ebola-hit Liberia". NBC News. สืบค้นเมื่อ 8 October 2014.
  27. "Ebola virus disease, West Africa – update 3 July 2014". WHO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-28. สืบค้นเมื่อ 18 September 2014.
  28. "8 Ebola suspects freed by relatives in Sierra Leone". Global Post. Xinhua. 28 May 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-31. สืบค้นเมื่อ 21 June 2014.
  29. "Growing Ebola outbreak threatens to overwhelm volunteers". Today Health. 8 June 2014. สืบค้นเมื่อ 21 June 2014.
  30. Cooper, Charlie (27 October 2014). "Ebola outbreak: Deaths from malaria and other diseases could soar while Africa's over-stretched healthcare systems fight the virus, expert warns". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
  31. Farmer, Paul (23 October 2014). "Diary". London Review of Books. สืบค้นเมื่อ 25 October 2014.
  32. McCauley, Lauren (3 September 2014). "As Ebola outbreak surges, health officials slam international 'Coalition of Inaction'". Common Dreams. สืบค้นเมื่อ 7 September 2014.
  33. "Ebola response roadmap – situation report" (PDF). World Health organization. 10 December 2014. สืบค้นเมื่อ 11 December 2014.
  34. "Ebola situation report – 28 January 2015". Ebola. WHO. 28 January 2015. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015.
  35. "Ebola situation report" (PDF). WHO. 8 April 2015. สืบค้นเมื่อ 14 April 2015.
  36. "Ebola numbers drop sharply in Guinea, Sierra Leone". CIDRAP. สืบค้นเมื่อ 30 July 2015.
  37. "Ebola countries record first week with no new cases". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2015-10-08.
  38. "Liberian official urges calm as three new Ebola cases confirmed". the Guardian. สืบค้นเมื่อ 21 November 2015.
  39. "WHO Statement on the Meeting of the International Health Regulations Emergency Committee Regarding the 2014 Ebola Outbreak in West Africa". World Health Organization. 8 August 2014. สืบค้นเมื่อ 8 August 2014.
  40. Cheng, Maria; Satter, Raphael (20 March 2015). "Emails: UN health agency resisted declaring Ebola emergency". Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-21. สืบค้นเมื่อ 21 March 2015.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  41. Thomas Nierle; Bruno Jochum (29 August 2014). "Ebola: the failures of the international outbreak response". Le Temps (Press release). Médecins Sans Frontières. สืบค้นเมื่อ 7 September 2014.
  42. news release (3 September 2014). "UN senior leaders outline needs for global Ebola response" (Press release). WHO. สืบค้นเมื่อ 7 September 2014.
  43. "West African economies feeling ripple effects of Ebola, says UN" (Press release). United Nations Development Programme. 12 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-18. สืบค้นเมื่อ 20 March 2015.
  44. Henao-Restrepo, Ana Maria (31 July 2015). "Efficacy and effectiveness of an rVSV-vectored vaccine expressing Ebola surface glycoprotein: interim results from the Guinea ring vaccination cluster-randomised trial" (PDF). Lancet. 15: 61117–5. doi:10.1016/S0140-6736(15)61117-5.
  45. "World on the verge of an effective Ebola vaccine" (Press release). World Health Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-28. สืบค้นเมื่อ 31 July 2015.
  46. "An emergency within an emergency: caring for Ebola survivors" (Press release). World Health Organization. 7 August 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-13. สืบค้นเมื่อ 19 August 2015.
  47. Grady, Denise (7 May 2015). "After nearly claiming his life, Ebola lurked in a doctor's eye". New York Times. สืบค้นเมื่อ 14 May 2015.
  48. no by-line.-->. "UN declares end to Ebola virus transmission in Guinea; first time all three host countries free". UN News Center. United Nations. สืบค้นเมื่อ 30 December 2015.
  49. http://apps.who.int/ebola/sites/default/files/atoms/files//who_ebola_situation_report_06-01-2016.pdf?ua=1
  50. http://apps.who.int/ebola/sites/default/files/atoms/files//who_ebola_situation_report_23-12-2015.pdf?ua=1
  51. http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/201492/1/ebolasitrep_9Dec2015_eng.pdf?ua=1
  52. http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/197915/1/ebolasitrep_25Nov2015_eng.pdf?ua=1
  53. http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/194050/1/ebolasitrep_11Nov2015_eng.pdf?ua=1
  54. "EBOLA SITUATION REPORT 28 OCTOBER 2015" (PDF). World Health Organization. 28 October 2015. สืบค้นเมื่อ 30 October 2015.
  55. "EBOLA SITUATION REPORT 14 OCTOBER 2015" (PDF). World Health Organization. 14 October 2015. สืบค้นเมื่อ 22 October 2015.
  56. http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/183400/1/Ebolasitrep_26Aug2015_eng.pdf?ua=1
  57. "Sierra Leone: Ebola Virus Disease – Situation Report" (PDF). 15 ธันวาคม 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 ธันวาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2014.
  58. "EBOLA RESPONSE ROADMAP SITUATION REPORT UPDATE" (PDF). World Health organization. 5 November 2014. สืบค้นเมื่อ 5 November 2014.
  59. WHO: Ebola Response Roadmap Situation Report 15 October 2014
  60. WHO: Ebola Response Roadmap Situation Report – 1 October 2014
  61. "Ebola virus disease, West Africa – update 31 July 2014". WHO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-24. สืบค้นเมื่อ 18 September 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]