โครมิลคลอไรด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โครมิลคลอไรด์
Wireframe model of chromyl chloride
Wireframe model of chromyl chloride
Ball and stick model of chromyl chloride
Ball and stick model of chromyl chloride
Chromyl chloride in vial
ชื่อ
Preferred IUPAC name
Chromium(VI) dichloride dioxide
Systematic IUPAC name
Dichlorodioxochromium
ชื่ออื่น
Chromic acid chloride

Chromium oxychloride

Etard Reagent
Chlorochromic anhydride
Chromic oxychloride
Chromium chloride oxide
Chromium dioxide dichloride
Chromium dioxychloride
Chromium oxychloride
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
EC Number
  • 239-056-8
RTECS number
  • GB5775000
  • InChI=1S/2ClH.Cr.2O/h2*1H;;;/q;;+2;;/p-2 checkY
    Key: AHXGRMIPHCAXFP-UHFFFAOYSA-L checkY
  • InChI=1S/2ClH.Cr.2O/h2*1H;;;/q;;+2;;/p-2
    Key: AHXGRMIPHCAXFP-UHFFFAOYSA-L
  • InChI=1/2ClH.Cr.2O/h2*1H;;;/q;;+2;;/p-2/rCl2CrO2/c1-3(2,4)5
    Key: AHXGRMIPHCAXFP-GRYJOLFGAD
  • Cl[Cr](Cl)(=O)=O
คุณสมบัติ
CrO2Cl2
มวลโมเลกุล 154.9008 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ blood red fuming liquid
กลิ่น musty, burning, acrid[1]
ความหนาแน่น 1.911 g/mL, liquid
จุดหลอมเหลว -96.5 °C
จุดเดือด 117 °C
Very soluble,hydrolysis
ความดันไอ 20 mmHg (20 °C)[1]
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
carcinogen, reacts violently with water[1]
GHS labelling:
[2]
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ noncombustible [1]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
none[1]
REL (Recommended)
Ca TWA 0.001 mg Cr(VI)/m3[1]
IDLH (Immediate danger)
N.D.[1]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
SO2Cl2; VOCl3; MoO2Cl2; WO2Cl2; CrO2F2
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โครมิลคลอไรด์ (chromyl chloride) หรือที่เรียกว่าโครเมียมออกซีคลอไรด์ (chromium oxychloride) เป็นสารประกอบทางเคมี มีสูตรคือ CrO2Cl2 เป็นของเหลวสีแดง สร้างได้จากการทำปฏิกิริยาไฮโดรคลอริกกับโครเมียม(VI) ออกไซด์หรือโพแทสเซียมโครเมต โครมิลคลอไรด์เป็นตัวออกซิไดซ์ที่รุนแรง เมื่อผสมกับกำมะถันจะเกิดการออกซิไดซ์ เป็นผลจากการทดสอบคลอไรด์ โครมิลคลอไรด์เป็นพิษเนื่องจากมีโครเมียมอยู่ในสถานะออกซิเดชัน +6 นอกจากนี้ยังประกอบด้วยกรดไฮโดรคลอริกบางชนิด และสามารถทำปฏิกิริยากับจาระบีและพลาสติกบางชนิด

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0142". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. [1]