แอกทิไนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เลขอะตอม ชื่อไทย ชื่ออังกฤษ สัญลักษณ์
89 แอกทิเนียม Actinium Ac
90 ทอเรียม Thorium Th
91 โพรแทกทิเนียม Protactinium Pa
92 ยูเรเนียม Uranium U
93 เนปทูเนียม Neptunium Np
94 พลูโทเนียม Plutonium Pu
95 อะเมริเซียม Americium Am
96 คูเรียม Curium Cm
97 เบอร์คีเลียม Berkelium Bk
98 แคลิฟอร์เนียม Californium Cf
99 ไอน์สไตเนียม Einsteinium Es
100 เฟอร์เมียม Fermium Fm
101 เมนเดลีเวียม Mendelevium Md
102 โนเบเลียม Nobelium No
103 ลอว์เรนเซียม Lawrencium Lr

แอกทิไนด์ (อังกฤษ: Actinide) เป็น อนุกรมเคมีของธาตุ ในตารางธาตุ จำนวน 15 ตัว ตั้งแต่ ธาตุแอกทิเนียม ถึง ธาตุลอว์เรนเซียม

สิ่งที่น่าสนใจ ได้แก่

เกลือแอกทิไนด์[แก้]

ในกลุ่มธาตุแอกทิไนด์นี้ มีบางธาตุที่สามารถเป็นเกลือได้ เช่น ยูเรเนียมไทรคลอไรด์ (UCl3) เบอร์คีเลียมไทรคลอไรด์ (BkCl3) เป็นต้น

*An – actinide
**Depending on the isotopes

ไอน์สไตเนียม ไทรไอโอไดต์ ส่องแสงในความมืด

เอคา-แอกทิไนด์[แก้]

ธาตุในเอคา-แอกทิไนด์มีการต้นพบในบางธาตุ แต่ส่วนใหญ่ยังไม่ถูกค้นพบ เข่น อูนควอด์เฮกเซียม เป็นต้น

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Greenwood, p. 1270
  2. V.A. Mikhailov, บ.ก. (1971). Analytical chemistry of neptunium. Moscow: Nauka.
  3. E.S. Palshin (1968). Analytical chemistry of protactinium. Moscow: Nauka.
  4. "Таблица Inorganic and Coordination compounds" (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 11 July 2010.
  5. Myasoedov, pp. 96–99
  6. F. Weigel; J. Katz; G. Seaborg (1997). The Chemistry of the Actinide Elements. Vol. 2. Moscow: Mir. ISBN 5-03-001885-9.
  7. Nave, S.; Haire, R.; Huray, Paul (1983). "Magnetic properties of actinide elements having the 5f6 and 5f7 electronic configurations". Physical Review B. 28: 2317. Bibcode:1983PhRvB..28.2317N. doi:10.1103/PhysRevB.28.2317.