แกนีมีด (ดาวบริวาร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แกนีมีด
การค้นพบ
ค้นพบโดย:กาลิเลโอ กาลิเลอี
ไซมอน มาริอุส
ค้นพบเมื่อ:11 มกราคม ค.ศ. 1610
ชื่ออื่น ๆ:Jupiter III
ลักษณะของวงโคจร
รัศมีวงโคจรเฉลี่ย:1070400 km[1]
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.0013[1]
คาบการโคจร:7.15455296 วัน[1]
ความเอียง:0.20° (จากเส้นศูนย์สูตรของดาวพฤหัสบดี) [1]
ดาวบริวารของ:ดาวพฤหัสบดี
ลักษณะทางกายภาพ
พื้นที่ผิว:8.72×107 km2 (0.171 ของโลก) [c]
ปริมาตร:7.66×1010 km3 (0.0704 ของโลก) [d]
มวล:1.4819×1023 kg (0.025 ของโลก) [2]
ความหนาแน่นเฉลี่ย:1.936 g/cm3 (0.351 ของโลก)[2]
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
1.428 m/s2 (0.146 g)
ความเร็วหลุดพ้น:2.741 km/s
ความเอียงของแกน:0–0.33°[3]
อัตราส่วนสะท้อน:0.43 ± 0.02[4]
ลักษณะของบรรยากาศ
ความดันบรรยากาศ
ที่พื้นผิว:
trace
องค์ประกอบ:ออกซิเจน[5]

แกนีมีด (อังกฤษ: Ganymede) เป็นดาวบริวารดวงหนึ่งของดาวพฤหัสบดี และเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีสนามแม่เหล็กสูง พื้นผิวหลายลักษณะแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางธรณีที่ชั้นผิวเปลือกอย่างซับซ้อนยาวนาน มีลักษณะสำคัญ 2 แบบ คือ พื้นที่เก่าแก่เป็นบริเวณมืดคล้ำเต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาต ขรุขระ เป็นแอ่งลึก กับพื้นที่ใหม่เป็นบริเวณที่ราบเรียบ สว่างกว่า มีน้ำแข็งติดกับดินหิน บางพื้นที่เป็นรอยแยกยาวเหยียด

แกนีมีดเป็นหนึ่งในดวงจันทร์ของกาลิเลโอที่ค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อ 7 มกราคม ค.ศ. 1610 ตั้งชื่อตามเทพแกนีมีดในตำนานเทพเจ้ากรีก ผู้เป็นที่รักของเทพซูส

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Planetary Satellite Mean Orbital Parameters". Jet Propulsion Laboratory, California Institute of Technology. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 3, 2013. สืบค้นเมื่อ February 9, 2008.
  2. 2.0 2.1 Showman, Adam P.; Malhotra, Renu (October 1, 1999). "The Galilean Satellites" (PDF). Science. 286 (5437): 77–84. doi:10.1126/science.286.5437.77. PMID 10506564. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ May 14, 2011. สืบค้นเมื่อ January 17, 2008.
  3. Bills, Bruce G. (2005). "Free and forced obliquities of the Galilean satellites of Jupiter". Icarus. 175: 233–247. doi:10.1016/j.icarus.2004.10.028.
  4. Yeomans, Donald K. (2006-07-13). "Planetary Satellite Physical Parameters". JPL Solar System Dynamics. สืบค้นเมื่อ 2007-11-05.
  5. Hall, D. T.; Feldman, P. D.; และคณะ (1998). "The Far-Ultraviolet Oxygen Airglow of Europa and Ganymede". The Astrophysical Journal. 499 (1): 475–481. Bibcode:1998ApJ...499..475H. doi:10.1086/305604.

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]