วิถีโคจรพาราโบลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาพแสดงวงโคจรเค็พเพลอร์แบบต่าง ๆ โดยเส้นสีเขียวคือวิถีโคจรพาราโบลา e=1

ในทางกลศาสตร์วงโคจร วิถีโคจรพาราโบลา (parabolic trajectory) คือวงโคจรเค็พเพลอร์ที่มีความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรเท่ากับ 1

รูปร่างวิถีโคจร[แก้]

รูปร่างของวิถีโคจรพาราโบลาแสดงโดยสมการต่อไปนี้

ในที่นี้

หากมุมกวาดจริง เข้าใกล้ 180° ตัวส่วนของสมการข้างต้นเข้าใกล้ 0 และ จะเข้าใกล้อนันต์

พลังงานในวงโคจร[แก้]

จากนั้นพลังงานวงโคจรจำเพาะจะหาได้จาก

โดย คือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ

ความเร็วในวิถีโคจร[แก้]

ขนาดของความเร็วของวัตถุบนวิถีโคจรพาราโบลาแสดงได้โดยสมการต่อไปนี้

จากสมการนี้จะเห็นได้ว่า ขนาดของความเร็วจะเข้าใกล้ศูนย์เมื่อระยะห่างจากวัตถุท้องฟ้าศูนย์กลางไปเป็นระยะทางเข้าใกล้อนันต์

สมการบาร์เกอร์[แก้]

สมการบาร์เกอร์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมุมกวาดจริง กับเวลา ในการเคลื่อนที่ในวิถีโคจรพาราโบลาดังนี้[1]

โดยที่

  • เป็นตัวแปรช่วย
  • คือเวลาเมื่อวัตถุผ่านจุดใกล้ที่สุด
  • คือเลตัสเรกตัมของวงโคจร ()

อ้างอิง[แก้]

  1. Bate, Roger; Mueller, Donald; White, Jerry (1971). Fundamentals of Astrodynamics. Dover Publications, Inc., New York. p. 188. ISBN 0-486-60061-0.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)