รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (ไทย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงยุติธรรม
ตรากระทรวง
ธงประจำตำแหน่ง
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง

ตั้งแต่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566
กระทรวงยุติธรรม
สมาชิกของคณะรัฐมนตรี
สภาความมั่นคงแห่งชาติ
รายงานต่อนายกรัฐมนตรี
ผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรี
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตามวาระของคณะรัฐมนตรี
ผู้ประเดิมตำแหน่งพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ
ในฐานะ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม
สถาปนาพ.ศ. 2434
รองรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม
เว็บไซต์MOJ.go.th

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม[แก้]

ลำดับ
(สมัย)
รูป รายพระนาม / รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ พ.ศ. 2434 พ.ศ. 2437
2 พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร พ.ศ. 2437 พ.ศ. 2439
3 พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พ.ศ. 2439 พ.ศ. 2453[1]
4 หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พ.ศ. 2453 พ.ศ. 2455
5 พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง (หม่อมราชวงศ์ลพ สุทัศน์) พ.ศ. 2455 พ.ศ. 2469[2]
6 พระยาจินดาภิรมย์ราชสภาบดี (จิตร ณ สงขลา) พ.ศ. 2471 พ.ศ. 2475[3]
7 พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล) 29 มิถุนายน พ.ศ. 2475[4] 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม[แก้]

ลำดับ
(สมัย)
รูป รายนาม ครม.
คณะที่
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
(1,2)
พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล) 2 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 1 เมษายน พ.ศ. 2476
3 1 เมษายน พ.ศ. 2476 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
2
(1-3)
พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ (วัน จามรมาน) 4 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 1 กันยายน พ.ศ. 2476[5]
1 กันยายน พ.ศ. 2476 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
5 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477
6 22 กันยายน พ.ศ. 2477 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
3 เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) 7 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
4
(1)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) 8 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
5
(1,2)
นายนาวาเอก หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) 9 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
10 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
4
(2)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) 11 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
6 ดิเรก ชัยนาม 12 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 17 กันยายน พ.ศ. 2488
7 พระยานลราชสุวัจน์ (ทองดี นลราชสุวัจน์) 13 17 กันยายน พ.ศ. 2488 31 มกราคม พ.ศ. 2489
4
(3)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร์ ณ สงขลา) 14 31 มกราคม พ.ศ. 2489 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
8 หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) 15 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
5
(3-5)
พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ 16 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
17 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490[6]
18 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490[7]
รัฐประหาร โดยจอมพล ผิน ชุณหะวัณ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
9 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 19 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
10
(1)
พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) 20 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 8 เมษายน พ.ศ. 2491
11
(1,2)
พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน) 21 8 เมษายน พ.ศ. 2491 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
22 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2493
12
(1)
เลียง ไชยกาล 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 11 มกราคม พ.ศ. 2494
13
(1,2)
เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ 11 มกราคม พ.ศ. 2494 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
23 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
14
(1,2)
พระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร์) 24 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 24 มีนาคม พ.ศ. 2495
25 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2496[8]
15 พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี) 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
12
(2)
เลียง ไชยกาล 26 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 16 กันยายน พ.ศ. 2500
คณะปฏิวัติ นำโดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 21 กันยายน พ.ศ. 2500
10
(2,3)
พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) 27 21 กันยายน พ.ศ. 2500 1 มกราคม พ.ศ. 2501
28 1 มกราคม พ.ศ. 2501 31 มกราคม พ.ศ. 2501
16 พระดุลยพากย์สุวมันต์ (บิณฑ์ ปัทมัษฐาน) 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
คณะปฏิวัติ นำโดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
10
(4,5)
พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) 29 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
30 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
17 หลวงจำรูญเนติศาสตร์ (จำรูญ โปษยานนท์) 31 9 มีนาคม พ.ศ. 2512 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
สภาบริหารแห่งชาติ นำโดยจอมพล ถนอม กิตติขจร 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 17 ธันวาคม พ.ศ. 2515
18 กมล วรรณประภา 32 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
19 ประกอบ หุตะสิงห์ 33 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
20 กิตติ สีหนนทน์ 34 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
21 เทียม ไชยนันทน์ 35 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
22 ใหญ่ ศวิตชาติ 36 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 8 มกราคม พ.ศ. 2519
23 บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ 8 มกราคม พ.ศ. 2519 20 เมษายน พ.ศ. 2519
24 ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ 37 20 เมษายน พ.ศ. 2519 25 กันยายน พ.ศ. 2519
25
(1)
ชวน หลีกภัย 38 25 กันยายน พ.ศ. 2519 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
26 เสมา รัตนมาลัย 39 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
คณะปฏิวัติ นำโดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
27
(1,2)
สุธรรม ภัทราคม 40 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
41 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523
28 รัตน์ ศรีไกรวิน 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
25
(2)
ชวน หลีกภัย 42 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 5 มีนาคม พ.ศ. 2524
29 มารุต บุนนาค 11 มีนาคม พ.ศ. 2524 19 มีนาคม พ.ศ. 2526
30 พิภพ อะสีติรัตน์ 43 30 เมษายน พ.ศ. 2526 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
31 สอาด ปิยวรรณ 44 11 สิงหาคม พ.ศ. 2529 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531
32 พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ 45 9 สิงหาคม พ.ศ. 2531 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
33 อุทัย พิมพ์ใจชน 46 14 ธันวาคม พ.ศ. 2533 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 1 มีนาคม พ.ศ. 2534
34 ประภาศน์ อวยชัย 47 6 มีนาคม พ.ศ. 2534 22 มีนาคม พ.ศ. 2535
35 สวัสดิ์ คำประกอบ 48 17 เมษายน พ.ศ. 2535 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535
36 วิเชียร วัฒนคุณ 49 18 มิถุนายน พ.ศ. 2535 23 กันยายน พ.ศ. 2535
37
(1)
สุวิทย์ คุณกิตติ 50 29 กันยายน พ.ศ. 2535 15 กันยายน พ.ศ. 2536
38 ไสว พัฒโน 23 กันยายน พ.ศ. 2536 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
39 ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง 51 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
37
(2)
สุวิทย์ คุณกิตติ 52 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
40 สุทัศน์ เงินหมื่น 53 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
41
(1)
พงศ์เทพ เทพกาญจนา 54 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 5 มีนาคม พ.ศ. 2545
42 จาตุรนต์ ฉายแสง 5 มีนาคม พ.ศ. 2545 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545
43 ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546
41
(2)
พงศ์เทพ เทพกาญจนา 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
44 สุวัจน์ ลิปตพัลลภ 55 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 2 สิงหาคม พ.ศ. 2548
45 พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2548 19 กันยายน พ.ศ. 2549
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.) 19 กันยายน พ.ศ. 2549 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
46 ชาญชัย ลิขิตจิตถะ 56 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
47 สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ 57 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 9 กันยายน พ.ศ. 2551
48 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ 58 24 กันยายน พ.ศ. 2551 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
49 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค 59 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554
50 พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก 60 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
51 ชัยเกษม นิติสิริ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557
52 พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา 61 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559
53 สุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
54 พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
55 สมศักดิ์ เทพสุทิน 62 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 17 มีนาคม พ.ศ. 2566
56 พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง 63 1 กันยายน พ.ศ. 2566 ปัจจุบัน

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประวัติบุคคลสำคัญด้านกฎหมาย : ประวัติพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-26. สืบค้นเมื่อ 2007-03-28.
  2. "ประวัติบุคคลสำคัญด้านกฎหมาย : เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-09. สืบค้นเมื่อ 2007-03-28.
  3. "ประวัติบุคคลสำคัญด้านกฎหมาย : มหาอำมาตย์โท พระยาจินดาภิรมย์ราชสภาบดี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-09. สืบค้นเมื่อ 2007-03-28.
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ ผลัดเปลี่ยนเสนาบดี ปลัดทูลฉลองกระทรวงต่าง ๆ และรวมกระทรวง (๑.นายพลตรี พระยาประเสริฐสงคราม ๒. มหาอำมาตย์ตรี พระยาจ่าแสนยบดี ๓.มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวงษานะประพัทธ์ ๔. อำมาตย์เอก พระยาประมวญวิชาพลู ๕. มหาอำมาตย์ตรี พระยาศรีวิสารวาจา ๖. มหาอำมาตย์โท พระยาเทพวิทุร ๗. มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา) ราชกิจจานุเบกษา. ๒๙ มิถุนายน ๒๔๗๕
  5. ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีทำการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  6. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  7. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  8. ถึงแก่อนิจกรรม