รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศบัลแกเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศบัลแกเรียทั้งสิ้น 10 แหล่ง[1] เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 3 แหล่ง

ที่ตั้ง[แก้]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
โบสถ์บอยานา โซเฟีย
42°38′40.7″N 23°15′58.3″E / 42.644639°N 23.266194°E / 42.644639; 23.266194
วัฒนธรรม:
(ii), (iii)
0.68;
พื้นที่กันชน 13.55
2522/1979 42[2]
คนขี่ม้ามาดารา จังหวัดชูแมน
43°16′38.6″N 27°07′08.0″E / 43.277389°N 27.118889°E / 43.277389; 27.118889
วัฒนธรรม:
(i), (iii)
1.2;
พื้นที่กันชน 501.7
2522/1979 43[3]
หลุมฝังศพชาวเทรซแห่งกาซันเลิก จังหวัดสตาราซากอรา
42°37′32.8″N 25°23′57.0″E / 42.625778°N 25.399167°E / 42.625778; 25.399167
วัฒนธรรม:
(i), (iii), (iv)
0.0155;
พื้นที่กันชน 7.09
2522/1979 44[4]
โบสถ์หินสกัดแห่งอีวานอวอ จังหวัดรูแซ
43°41′41.5″N 25°59′16.4″E / 43.694861°N 25.987889°E / 43.694861; 25.987889
วัฒนธรรม:
(ii), (iii)
171.9 2522/1979 45[5]
อารามรีลา จังหวัดกิยุสแตนดิล
42°07′59.9″N 23°20′24.7″E / 42.133306°N 23.340194°E / 42.133306; 23.340194
วัฒนธรรม:
(vi)
10.7;
พื้นที่กันชน 1,289.7
2526/1983 216[6]
นครโบราณแนแซเบอร์ จังหวัดบูร์กัส
42°39′32.8″N 27°44′09.7″E / 42.659111°N 27.736028°E / 42.659111; 27.736028
วัฒนธรรม:
(iii), (iv)
27.1;
พื้นที่กันชน 1,245.6
2526/1983 217[7]
หลุมฝังศพชาวเทรซแห่งสแวชตารี จังหวัดรัซกรัต
43°40′00.0″N 26°40′00.0″E / 43.666667°N 26.666667°E / 43.666667; 26.666667
วัฒนธรรม:
(i), (iii)
647.6 2528/1985 ค้นพบใน พ.ศ. 2525 ใกล้กับหมู่บ้านสแวชตารี สุสานเทรซที่สร้างในศตวรรษที่ 3 แห่งนี้สะท้อนให้เห็นถึงหลักการโครงสร้างพื้นฐานของอาคารเทรซ 359[8]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
เขตสงวนธรรมชาติสแรเบอร์นา จังหวัดซีลิสตรา
44°06′52.0″N 27°04′41.0″E / 44.114444°N 27.078056°E / 44.114444; 27.078056
ธรรมชาติ:
(x)
638;
พื้นที่กันชน 673
2527/1983;
เพิ่มเติม 2551/2008
219[9]
อุทยานแห่งชาติปีริน จังหวัดบลากอแอฟกรัต
41°44′33.8″N 23°25′49.7″E / 41.742722°N 23.430472°E / 41.742722; 23.430472
ธรรมชาติ:
(vii), (viii), (ix)
38,350.04;
พื้นที่กันชน 1,078.28
2527/1983;
เพิ่มเติม 2553/2010
225[10]
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป
(ร่วมกับโครเอเชีย, เช็กเกีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เบลเยียม, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, มาซิโดเนียเหนือ, ยูเครน, เยอรมนี, โรมาเนีย, สเปน, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรีย, อิตาลี และแอลเบเนีย)
จังหวัดกาบรอวอ, จังหวัดปลอฟดิฟ, จังหวัดลอแวช และจังหวัดสตาราซากอรา
42°44′42.0″N 24°56′02.4″E / 42.745000°N 24.934000°E / 42.745000; 24.934000
ธรรมชาติ:
(ix)
98,124.96;
พื้นที่กันชน 294,716.32
2550/2007;
เพิ่มเติม 2554/2011,
2560/2017
และ 2564/2021
ป่าต้นบีชในประเทศบัลแกเรียได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2560 1133[11]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศบัลแกเรียมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 16 แห่ง[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Bulgaria". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  2. "Boyana Church". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  3. "Madara Rider". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  4. "Thracian Tomb of Kazanlak". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  5. "Rock-Hewn Churches of Ivanovo". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  6. "Rila Monastery". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  7. "Ancient City of Nessebar". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  8. "Thracian Tomb of Sveshtari". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  9. "Srebarna Nature Reserve". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  10. "Pirin National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.
  11. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2023.