รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลตา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมอลตาทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1] เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
สิ่งก่อสร้างใต้ดินแห่งฮัลซัฟลีนี ราฮัลจดีต
35°52′10.4″N 14°30′24.9″E / 35.869556°N 14.506917°E / 35.869556; 14.506917 (Ħal Saflieni Hypogeum)
วัฒนธรรม:
(iii)
0.13 2523/1980 130[2]
นครวัลเลตตา วัลเลตตา
35°54′01.5″N 14°30′50.6″E / 35.900417°N 14.514056°E / 35.900417; 14.514056 (City of Valletta)
วัฒนธรรม:
(i), (vi)
55.5 2523/1980 สิ่งก่อสร้างกว่า 320 แห่งภายในพื้นที่ 55 เฮกตาร์ ส่งผลให้กรุงวัลเลตตาเป็นเขตประวัติศาสตร์ที่หนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งบนโลก 131[3]
เทวสถานหินใหญ่แห่งมอลตา ลิมจาร์, อิชชารา, อิล-อเร็นดี
และฮัลตาร์ชีน
35°49′39.7″N 14°26′31.2″E / 35.827694°N 14.442000°E / 35.827694; 14.442000 (Megalithic Temples of Malta)
วัฒนธรรม:
(iv)
3.155;
พื้นที่กันชน 167
2523/1980;
เพิ่มเติม 2535/1992
และ 2558/2015
อาทิ ลิมนัยดรา หมู่วิหารตาฮัจรัต 132[4]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศมอลตามีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 7 แห่ง[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Malta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.
  2. "Ħal Saflieni Hypogeum". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.
  3. "City of Valletta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.
  4. "Megalithic Temples of Malta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.