ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
\end{align}</math>
\end{align}</math>


วู้ฮูวววววววว
== พิกัดคาร์ทีเซียน ==
[[พิกัดคาร์ทีเซียน]]ของรอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน สามารถกำหนดพิกัดของจุดยอดได้ดังนี้
:: (±1, ±1, ±τ<sup>3</sup>) , (±τ<sup>3</sup>, ±1, ±1) , (±1, ±τ<sup>3</sup>, ±1) ,
:: (±τ<sup>2</sup>, ±τ, ±2τ) , (±2τ, ±τ<sup>2</sup>, ±τ) , (±τ, ±2τ, ±τ<sup>2</sup>) ,
:: (±(2+τ) , 0, ±τ<sup>2</sup>) , (±τ<sup>2</sup>, ±(2+τ) , 0) , (0, ±τ<sup>2</sup>, ±(2+τ))
เมื่อ τ มีค่าเท่ากับ (1+√5)/2 หรือ[[อัตราส่วนทอง]]


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:03, 4 สิงหาคม 2561

รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน

รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน (เล็ก) (อังกฤษ: (small) rhombicosidodecahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 20 หน้า รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 30 หน้า และรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า 12 หน้า รวม 62 หน้า โดยหน้ารูปห้าเหลี่ยมทุกหน้าจะล้อมรอบด้วยรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมสลับกันไป ทรงนี้มี 60 จุดยอด 120 ขอบ และเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid)

พื้นที่ผิวและปริมาตร

รอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอนที่คลี่ออก

พื้นที่ผิว A และปริมาตร V ของรอมบิโคซิโดเดคาฮีดรอน ที่มีความยาวขอบทุกด้านเท่ากับ a คำนวณได้ดังนี้

วู้ฮูวววววววว

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Williams, Robert (1979). The Geometrical Foundation of Natural Structure: A Source Book of Design. Dover Publications, Inc. ISBN 0-486-23729-X. (Section 3-9)

แหล่งข้อมูลอื่น