วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จีน
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศจีน
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย
หัวหน้าผู้ฝึกสอนไช่ บิน
อันดับเอฟไอวีบี6 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน9 (ครั้งแรกเมื่อ 1984)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดGold (1984, 2004, 2016)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน14 (ครั้งแรกเมื่อ 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดGold (1982, 1986)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน12 (ครั้งแรกเมื่อ 1977)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1981, 1985, 2003, 2015, 2019)
www.volleyball.org.cn (จีน)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน
เหรียญรางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ลอสแอนเจลิส 1984 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เอเธนส์ 2004 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ รีโอเดจาเนโร 2016 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ แอตแลนตา 1996 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โซล 1988 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ปักกิ่ง 2008 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เปรู 1982 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เช็กสโลวาเกีย 1986 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ จีน 1990 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1998 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อิตาลี 2014 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 2018 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1981 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1985 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2003 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2015 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2019 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1991 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1989 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1995 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 2011 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2001 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2017 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1993 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 2005 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อันเดรีย 2003 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮ่องกง 1993 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มาเก๊า 2001 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮ่องกง 2002 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ หนิงโป 2007 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ซัปโปะโระ 2013 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซี่ยงไฮ้ 1994 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ยู่ฉี่ 1999 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซนได 2005 ทีม
เนชันส์ลีก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หนานจิง 2018 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หนานจิง 2019 ทีม
เอเชียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นิวเดลี 1982 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โซล 1986 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ปักกิ่ง 1990 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1998 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ปูซาน 2002 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โดฮา 2006 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กว่างโจว 2010 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ จาร์กาต้า-ปาเล็มบัง 2018 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1978 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮิโระชิมะ 1994 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อินช็อน 2014 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เตหะราน 1974 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮ่องกง 1979 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซี่ยงไฮ้ 1987 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮ่องกง 1989 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1991 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซี่ยงไฮ้ 1993 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เชียงใหม่ 1995 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ มะนิลา 1997 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮ่องกง 1999 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นครราชสีมา 2001 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โฮจิมินห์ ซิตี้ 2003 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ไท่ฉาง 2005 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ไทเป 2011 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เทียนจิน 2015 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฟุกุโอะกะ 1983 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ สุพรรณบุรี 2007 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮานอย 2009 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ นครราชสีมา 2023 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เมลเบิร์น 1975 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นครราชสีมา 2008 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ไท่ฉาง 2010 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เซินเจิ้น 2014 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ หวิญฟุก 2016 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นครราชสีมา 2018 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อัลมาตี 2012 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน (จีน: 中國國家女子排球隊; อังกฤษ: China women's national volleyball team) เป็นตัวแทนของประเทศจีนในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมชาติจีนจัดได้ว่าเป็นหนึ่งในทีมวอลเลย์บอลหญิงระดับแถวหน้าของโลก โดยเป็นฝ่ายชนะการแข่งขันโอลิมปิกถึง 3 สมัย (ค.ศ. 1984, 2004 และ 2016)[1]

ทีมชาติหญิงของจีนเคยครองแชมป์การแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกในช่วงทศวรรษ 1980 ได้ถึงห้าสมัยติดต่อกัน ทีมนี้ยังได้สั่งสมประสบการณ์และการพัฒนาฝีมือในช่วงทศวรรษ 1990 ก่อนที่จะครองแชมป์รายการเวิลด์คัพใน ค.ศ. 2003 รวมถึงสามารถคว้าเหรียญทองจากโอลิมปิกฤดูร้อน 2004

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีนสามารถก้าวสู่ความสำเร็จในระดับโลก มีความสำคัญเป็นอย่างมากในช่วงต้นทศวรรษ 1980 และกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้งในปี 2014 จนถึงปัจจุบัน

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน[แก้]

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก จุดตบ จุดบล็อก ตำแหน่ง สโมสร 2021-2022
1. หยวน ซินเยว่ 21 ธันวาคม 1996 201 78 317 311 บอลเร็ว จีน เทียนจิน
2. จู ถิง(C) 29 พฤศจิกายน 1994 198 78 327 300 ตัวตบหัวเสา จีน เทียนจิน
6. กง เสียงหยวี่ 21 เมษายน 1997 186 72 313 302 บีหลัง จีน เจียงซู
7. หวัง หยวนหยวน 14 กรกฎาคม 1997 195 75 312 300 บอลเร็ว จีน เทียนจิน
9. จาง ฉางหนิง 6 พฤศจิกายน 1995 193 80 315 313 ตัวตบหัวเสา/บีหลัง จีน เจียงซู
10. หลิว เสี่ยวถง 16 กุมภาพันธ์ 1990 188 80 312 300 ตัวตบหัวเสา จีน ปักกิ่ง
11. เหยา ตี้ 15 สิงหาคม 1992 182 65 306 298 ตัวเซ็ต จีน เทียนจิน
12. หลี่ หญิงหญิง 19 กุมภาพันธ์ 2000 192 71 302 294 ตัวตบหัวเสา จีน เทียนจิน
16. ติง เฉีย 13 มกราคม 1990 180 67 305 300 ตัวเซ็ต จีน เหลียวหนิง
17. เหยียน นี 2 มีนาคม 1987 192 74 317 306 บอลเร็ว จีน เหลียวหนิง
18. หวัง เมิ่งเจี๋ย(L) 14 พฤศจิกายน 1995 172 65 289 280 ตัวรับอิสระ จีน ซานตง
19. หลิว เยี่ยนหาน 19 มกราคม 1993 188 75 315 305 ตัวตบหัวเสา/บีหลัง จีน อาร์มี่

ประวัติการแข่งขัน[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1964 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1968 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนี 1972 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • แคนาดา 1976 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1984 เหรียญทอง
  • เกาหลีใต้ 1988 เหรียญทองแดง
  • สเปน 1992 – อันดับที่ 7
  • สหรัฐ 1996 เหรียญเงิน
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 5
  • กรีซ 2004 เหรียญทอง
  • จีน 2008 เหรียญทองแดง
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 5
  • บราซิล 2016 เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2020 – อันดับที่ 9
  • ฝรั่งเศส 2024
  • สหรัฐ 2028

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • ฝรั่งเศส 1956 : อันดับที่ 6
  • บราซิล 1960 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1962 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 1967 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 1970 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1974 : อันดับที่ 14
  • สหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 6
  • เปรู 1982 : เหรียญทอง
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : เหรียญทอง
  • จีน 1990 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 1998 : เหรียญเงิน
  • เยอรมนี 2002 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 10
  • อิตาลี 2014 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2018 : เหรียญทองแดง
  • เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ 2022 :

วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ[แก้]

  • อุรุกวัย 1973 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1977 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1981 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1985 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1989 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1991 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1995 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2003 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2007 : ไม่ต้องเข้าแข่งขัน เนื่องจากได้สิทธิ์ไปแข่งโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ในฐานะเจ้าภาพแล้ว
  • ญี่ปุ่น 2011 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2015 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2019 : เหรียญทอง

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1993 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2001 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2005 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2017 : เหรียญทอง

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ฮ่องกง 1993 : เหรียญเงิน
  • จีน 1994 : เหรียญทองแดง
  • จีน 1995 : อันดับที่ 4
  • จีน 1996 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 5
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 4
  • จีน 1999 : เหรียญทองแดง
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 4
  • มาเก๊า 2001 : เหรียญเงิน
  • ฮ่องกง 2002 : เหรียญเงิน
  • อิตาลี 2003 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 2004 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2005 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 5
  • จีน 2007 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2008 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 5
  • จีน 2010 : อันดับที่ 4
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 8
  • จีน 2012 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2013 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 2015 : อันดับที่ 4
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 5
  • จีน 2017 : อันดับที่ 4

เนชันส์ลีก[แก้]

  • จีน 2018 : เหรียญทองแดง
  • จีน 2019 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2021 : อันดับ 5
  • ตุรกี 2022 : อันดับ 6

เอเชียนเกมส์[แก้]

  • อิหร่าน 1974 : เหรียญทองแดง
  • ไทย 1978 : เหรียญเงิน
  • อินเดีย 1982 : เหรียญทอง
  • เกาหลีใต้ 1986 : เหรียญทอง
  • จีน 1990 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1994 : เหรียญเงิน
  • ไทย 1998 : เหรียญทอง
  • เกาหลีใต้ 2002 : เหรียญทอง
  • ประเทศกาตาร์ 2006 : เหรียญทอง
  • จีน 2010 : เหรียญทอง
  • เกาหลีใต้ 2014 : เหรียญเงิน
  • อินโดนีเซีย 2018 : เหรียญทอง
  • จีน 2022 :

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย[แก้]

  • ออสเตรเลีย 1975 : เหรียญทองแดง
  • ฮ่องกง 1979 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1983 : เหรียญเงิน
  • จีน 1987 : เหรียญทอง
  • ฮ่องกง 1989 : เหรียญทอง
  • ไทย 1991 : เหรียญทอง
  • จีน 1993 : เหรียญทอง
  • ไทย 1995 : เหรียญทอง
  • ฟิลิปปินส์ 1997 : เหรียญทอง
  • ฮ่องกง 1999 : เหรียญทอง
  • ไทย 2001 : เหรียญทอง
  • เวียดนาม 2003 : เหรียญทอง
  • จีน 2005 : เหรียญทอง
  • ไทย 2007 : เหรียญเงิน
  • เวียดนาม 2009 : เหรียญเงิน
  • จีนไทเป 2011 : เหรียญทอง
  • ไทย 2013 : อันดับที่ 4
  • จีน 2015 : เหรียญทอง
  • ฟิลิปปินส์ 2017 : อันดับที่ 4
  • เกาหลีใต้ 2019 : อันดับที่ 4
  • ฟิลิปปินส์ 2021 : ถอดทีมออกจากการแข่งขัน
  • ไทย 2023 : เหรียญเงิน

เอเชียนคัพ[แก้]

  • ไทย 2008 : เหรียญทอง
  • จีน 2010 : เหรียญทอง
  • คาซัคสถาน 2012 : เหรียญเงิน
  • จีน 2014 : เหรียญทอง
  • เวียดนาม 2016 : เหรียญทอง
  • ไทย 2018 : เหรียญทอง
  • สาธารณรัฐจีน 2020 : ถูกยกเลิกเนื่องจากการแพร่ระบาดของ COVID-19
  • ฟิลิปปินส์ 2022 : เหรียญเงิน

อ้างอิง[แก้]

|}