จักรพรรดิฮาดริอานุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก จักรพรรดิเฮเดรียน)
จักรพรรดิฮาดริอานุส
จักรพรรดิโรมัน

รูปแกะสลักหินอ่อนครึ่งตัวของจักรพรรดิฮาดริอานุส
พระนามเต็ม ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส
เกิด-ครองราชย์ซีซาร์ ปูบลิอุส เอลิอุส ทราเอียนุส ฮาดริอานุส เอากัสตุส
ครองราชย์
ราชวงศ์ เนอร์วัน-อันโตเนียน
สมัย 10 สิงหาคม ค.ศ. 11710 กรกฎาคม ค.ศ. 138
ก่อนหน้า จักรพรรดิทราจัน
ถัดไป จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส
บทบาท/งาน กำแพงฮาดริอานุส
ข้อมูลส่วนพระองค์
พระราชสมภพ 24 มกราคม ค.ศ. 76, กรุงโรม
หรือ อิตาลิคาในสเปน
สวรรคต 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138, Baiae
พระราชบิดา ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส อาเฟอร์
พระราชมารดา โดมีเตีย เปาลีนา
พระมเหสี วิเบีย ซาบินา
พระบุตร ลูกิอุส เอลิอุส
จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส
หมวดหมู่: จักรพรรดิโรมัน
จักรพรรดิโรมันตะวันตก - จักรพรรดิโรมันตะวันออก

จักรพรรดิฮาดริอานุส หรือ ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส (อังกฤษ: Hadrian; ชื่อเต็ม: Publius Aelius Hadrianus[1]) (24 มกราคม ค.ศ. 7610 กรกฎาคม ค.ศ. 138) ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียนระหว่างวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 117 ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138 พระนามเมื่อเป็นจักรพรรดิคือ “Imperator Caesar Divi Traiani filius Traianus Hadrianus Augustus” และ “Divus Hadrianus” หลังจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพ ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิองค์ที่สามในบรรดา “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) หรือองค์ที่สองของข้อเสนอของราชวงศ์อัลปิโอ-เอเลียนเมื่อไม่นานมานี้ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นนักปรัชญาลัทธิสโตอิก (Stoicism) และ ลัทธิเอพิคิวเรียน (Epicureanism) ฮาดริอานุสมาจากตระกูลเอลิอุส (Aelius) ซึ่งเป็นตระกูลโรมันโบราณ[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. Inscription in Athens, year 112 AD: CIL III, 550 = InscrAtt 3 = IG II, 3286 = Dessau 308 = IDRE 2, 365: P(ublio) Aelio P(ubli) f(ilio) Serg(ia) Hadriano / co(n)s(uli) VIIviro epulonum sodali Augustali leg(ato) pro pr(aetore) Imp(eratoris) Nervae Traiani / Caesaris Aug(usti) Germanici Dacici Pannoniae inferioris praetori eodemque / tempore leg(ato) leg(ionis) I Minerviae P(iae) F(idelis) bello Dacico item trib(uno) pleb(is) quaestori Imperatoris / Traiani et comiti expeditionis Dacicae donis militaribus ab eo donato bis trib(uno) leg(ionis) II / Adiutricis P(iae) F(idelis) item legionis V Macedonicae item legionis XXII Primigeniae P(iae) F(idelis) seviro / turmae eq(uitum) R(omanorum) praef(ecto) feriarum Latinarum Xviro s(tlitibus) i(udicandis) //...(text in greek)
  2. Alicia M. Canto, «Saeculum Aelium, saeculum Hispanum: Promoción y poder de los hispanos en Roma», en: Hispania. El Legado de Roma. En el año de Trajano, Madrid-Zaragoza, Ministerio de Cultura, 1998, págs. 209-224, y Madrid-Mérida, 1999, 234-251 esta edición ahora en Academia.edu y, con más detalle, en «La dinastía Ulpio-Aelia (96-192 d. C.): ni tan 'Buenos', ni tan 'Adoptivos' ni tan 'Antoninos'», Gerión 21.1, 2003, pp. 263-305 (http://www.ucm.es/BUCM/revistas/ghi/02130181/articulos/GERI0303120305A.PDF); see later http://www.fondazionecanussio.org/palaestra/blazquez.pdf, p.13 (2005) or http://dialnet.unirioja.es/servlet/articulo?codigo=2251672 (2006)

ข้อมูลเพิ่มเติม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ จักรพรรดิฮาดริอานุส