ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฆ่าตัวตาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
=== โรคทางจิตใจ ===
=== โรคทางจิตใจ ===
โรคทางจิตใจเกิดขึ้น ณ เวลาที่ฆ่าตัวตายด้วยพิสัยตั้งแต่ 27%<ref name="University of Manchester Centre for Mental Health and Risk">{{cite web|last=University of Manchester Centre for Mental Health and Risk|title=The National Confidential Inquiry into Suicide and Homicide by People with Mental Illness|url=http://www.medicine.manchester.ac.uk/cmhr/centreforsuicideprevention/nci/reports/annual_report_2012.pdf|accessdate=25 July 2012}}</ref> จนถึงมากกว่า 90%<ref name=EB2011/> ในบรรดาคนที่เคยเข้ารับการรักษาทางจิต ความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายสำเร็จในช่วงชีวิตอยู่ที่ประมาณ 8.6%<ref name=EB2011/> ประชาชนครึ่งหนึ่งที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายอาจเป็นโรคเกี่ยวกับความหดหู่ หากมีโรคทางจิตใจอย่างน้อยหนึ่งชนิด เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว เพิ่มความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายถึง 20 เท่า<ref name=Che2012>{{cite book|last=Chehil|first=Stan Kutcher, Sonia|title=Suicide Risk Management A Manual for Health Professionals.|publisher=John Wiley & Sons|location=Chicester|isbn=978-1-119-95311-1|pages=30–33|year=2012|url=https://books.google.com/books?id=fV8_1u0c7l0C&pg=PA31|edition=2nd}}</ref> โรคอื่น ๆ เช่น โรคจิตเภท (14%) ความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ (14%)<ref>{{cite journal|last=Bertolote|first=JM |author2=Fleischmann, A |author3=De Leo, D |author4=Wasserman, D|title=Psychiatric diagnoses and suicide: revisiting the evidence|journal=Crisis|year=2004|volume=25|issue=4|pages=147–55|pmid=15580849|doi=10.1027/0227-5910.25.4.147}}</ref> [[โรคอารมณ์สองขั้ว]]<ref name=Che2012/> และ[[ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ]]<ref name=EB2011/> คนที่เป็น[[โรคจิตเภท]]ราว 5% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย<ref name=Lancet09>{{cite journal |author=[[Jim van Os|van Os J]], Kapur S |title=Schizophrenia |journal=Lancet |volume=374 |issue=9690|pages=635–45 |date=August 2009 |pmid=19700006 |doi=10.1016/S0140-6736(09)60995-8 |url=http://xa.yimg.com/kq/groups/19525360/611943554/name/Schizophrenia+-+The+Lancet.pdf }}</ref> ความผิดปกติเกี่ยวกับการกินเป็นอีกภาวะหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง<ref name=Tint2010/>
โรคทางจิตใจเกิดขึ้น ณ เวลาที่ฆ่าตัวตายด้วยพิสัยตั้งแต่ 27%<ref name="University of Manchester Centre for Mental Health and Risk">{{cite web|last=University of Manchester Centre for Mental Health and Risk|title=The National Confidential Inquiry into Suicide and Homicide by People with Mental Illness|url=http://www.medicine.manchester.ac.uk/cmhr/centreforsuicideprevention/nci/reports/annual_report_2012.pdf|accessdate=25 July 2012}}</ref> จนถึงมากกว่า 90%<ref name=EB2011/> ในบรรดาคนที่เคยเข้ารับการรักษาทางจิต ความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายสำเร็จในช่วงชีวิตอยู่ที่ประมาณ 8.6%<ref name=EB2011/> ประชาชนครึ่งหนึ่งที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายอาจเป็นโรคเกี่ยวกับความหดหู่ หากมีโรคทางจิตใจอย่างน้อยหนึ่งชนิด เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว เพิ่มความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายถึง 20 เท่า<ref name=Che2012>{{cite book|last=Chehil|first=Stan Kutcher, Sonia|title=Suicide Risk Management A Manual for Health Professionals.|publisher=John Wiley & Sons|location=Chicester|isbn=978-1-119-95311-1|pages=30–33|year=2012|url=https://books.google.com/books?id=fV8_1u0c7l0C&pg=PA31|edition=2nd}}</ref> โรคอื่น ๆ เช่น โรคจิตเภท (14%) ความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ (14%)<ref>{{cite journal|last=Bertolote|first=JM |author2=Fleischmann, A |author3=De Leo, D |author4=Wasserman, D|title=Psychiatric diagnoses and suicide: revisiting the evidence|journal=Crisis|year=2004|volume=25|issue=4|pages=147–55|pmid=15580849|doi=10.1027/0227-5910.25.4.147}}</ref> [[โรคอารมณ์สองขั้ว]]<ref name=Che2012/> และ[[ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ]]<ref name=EB2011/> คนที่เป็น[[โรคจิตเภท]]ราว 5% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย<ref name=Lancet09>{{cite journal |author=[[Jim van Os|van Os J]], Kapur S |title=Schizophrenia |journal=Lancet |volume=374 |issue=9690|pages=635–45 |date=August 2009 |pmid=19700006 |doi=10.1016/S0140-6736(09)60995-8 |url=http://xa.yimg.com/kq/groups/19525360/611943554/name/Schizophrenia+-+The+Lancet.pdf }}</ref> ความผิดปกติเกี่ยวกับการกินเป็นอีกภาวะหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง<ref name=Tint2010/>

=== ปัญหาการพนัน ===
ปัญหาการพนันเป็นเหตุให้เกิดความคิดฆ่าตัวตายและความพยายามฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับประชากรทั่วไป<ref>{{cite book |first1=Stefano |last1=Pallanti |first2=Nicolò Baldini |last2=Rossi |first3=Eric |last3=Hollander |chapter=11. Pathological Gambling |editor1-first=Eric |editor1-last=Hollander |editor2-first=Dan J. | editor2-last=Stein |title=Clinical manual of impulse-control disorders |url=https://books.google.com/books?id=u2wVP8KJJtcC&pg=PA253 |year=2006 |publisher=American Psychiatric Pub |isbn=978-1-58562-136-1 |page=253}}</ref> นักเล่นพนันระหว่าง 12-24% พยายามฆ่าตัวตาย<ref name=Oliv2008/> อัตราการฆ่าตัวตายในสามีภรรยาของพวกเขามีมากกว่าประชากรทั่วไปถึง 3 เท่า<ref name=Oliv2008>{{cite journal|last=Oliveira|first=MP|author2=Silveira, DX |author3=Silva, MT |title=Pathological gambling and its consequences for public health|journal=Revista de saude publica|date=June 2008|volume=42|issue=3|pages=542–9|pmid=18461253|doi=10.1590/S0034-89102008005000026}}</ref> ปัจจัยอื่น ๆ ที่เพิ่มความเสี่ยงในนักเล่นพนัน ได้แก่ ความผิดปกติทางจิตใจ แอลกอฮอล์ และการใช้ยา<ref>{{cite journal|last=Hansen|first=M|author2=Rossow, I |title=Gambling and suicidal behaviour|journal=Tidsskrift for den Norske laegeforening : tidsskrift for praktisk medicin, ny raekke|date=Jan 17, 2008|volume=128|issue=2|pages=174–6|pmid=18202728}}</ref>


== วิธีการ ==
== วิธีการ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:24, 25 กันยายน 2558

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง[1] โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด[2] ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ[3]

วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาฆ่าแมลง และปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน ค.ศ. 2013 ขึ้นจาก 712,000 คนใน ค.ศ. 1990[4] ทำให้เป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 10 ทั่วโลก[2][5] อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง[6] โดยผู้ชายมีแนวโน้มฆ่าตัวตายมากกว่าผู้หญิง 3-4 เท่า มีการฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตประมาณ 10-20 ล้านครั้งทุกปี[7] ความพยายามฆ่าตัวตายที่ไม่ถึงแก่ชีวิตมักก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และความพิการระยะยาว ความพยายามดังกล่าวนี้มักพบในคนอายุน้อยและผู้หญิง

ทรรศนะที่มีต่อการฆ่าตัวตายมีหลายประเด็น เช่น ด้านศาสนา เกียรติยศ และความหมายของชีวิต ศาสนาอับราฮัมมองการฆ่าตัวตายว่าเป็นการดูหมิ่นพระเจ้าเนื่องจากความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งชีวิต ในยุคซะมุไรในญี่ปุ่น มีการนับถือเซ็ปปุกุเป็นหนึ่งในวิธีการไถ่โทษสำหรับความผิดพลาด หรือเป็นการประท้วงรูปแบบหนึ่ง พิธีสตี ซึ่งปัจจุบันเป็นสิ่งผิดกฎหมาย คาดหวังให้หญิงม่ายบูชายัญตนเองบนกองฟืนเผาศพของสามี ทั้งสมัครใจหรือจากความกดดันจากครอบครัวและสังคม[8]

ขณะที่ในอดีต การฆ่าตัวตายและความพยายามฆ่าตัวตาย เป็นอาชญากรรมต้องโทษ แต่ปัจจุบันในประเทศตะวันตกมิเป็นเช่นนั้นแล้ว แต่ยังถือว่าเป็นอาชญากรรมในหลายประเทศ ในศตวรรษที่ 20 และ 21 มีการฆ่าตัวตายที่เป็นการบูชายัญตนเองเกิดขึ้นบางโอกาสเป็นสื่อกลางการประท้วง และคะมิกะเซะและการระเบิดฆ่าตัวตายเกิดขึ้นเป็นยุทธวิธีทางทหารหรือการก่อการร้าย[9]

คำจำกัดความ

การฆ่าตัวตาย หรือการฆ่าตัวตายสมบูรณ์แบบ เป็น "การกระทำที่ปลิดชีพตน"[10] ความพยายามฆ่าตัวตาย หรือพฤติกรรมเสียงต่อการฆ่าตัวตายคือการทำร้ายตนเองโดยมีความปรารถนาว่าจะจบชีวิตตน แต่ไม่ถึงแก่ความตาย[11] การฆ่าตัวตายแบบมีผู้ช่วย เกิดขึ้นเมื่อมีคนคนหนึ่งนำพาความตายมาให้อีกคนอีกคนทางอ้อม โดยการให้คำแนะนำหรือวิธีการฆ่าตัวตาย[12] การฆ่าตัวตายตรงข้ามกับการุณยฆาตซึ่งคนอีกคนมีบทบาทหลักในการนำพาความตายมาสู่คนคนหนึ่ง[12] การเกิดความคิดฆ่าตัวตายเป็นความคิดในการจบชีวิตคนคนหนึ่งแต่ไม่ต้องใช้ความพยายามเพื่อทำการดังกล่าว[11]

ปัจจัยเสี่ยง

การแจกแจงสถานการณ์ที่ทำให้เกิดการฆ่าตัวตายใน 16 รัฐของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 2008.[13]

ปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ได้แก่ ความผิดปกติทางจิต การใช้ยาในทางที่ผิด ภาวะทางจิตวิทยา สถานการณ์ทางวัฒนธรรม สังคม และครอบครัว และพันธุกรรม[14] อาการป่วยทางจิตใจกับการใช้สารเสพติดนั้นมักเกิดร่วมกันบ่อย ๆ[15] ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ยังรวมถึงความพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน[16] ความเพียบพร้อมในการกระทำดังกล่าว ประวัติการฆ่าตัวตายของครอบครัว หรืออาการบาดเจ็บทางสมอง[17] ตัวอย่างเช่น อัตราการฆ่าตัวตายจะพบได้ในบ้านเรือนที่มีอาวุธปืนมากกว่าบ้านเรือนที่ไม่มีอาวุธปืน[18] ปัญหาทางสังคมเศรษฐกิจ เช่น การว่างงาน ความยากจน การไม่มีที่อยู่ และการเหยียดหยาม อาจกระตุ้นให้เกิดความคิดฆ่าตัวตายได้[19][20] คนที่ฆ่าตัวตาย 15-40% ทิ้งจดหมายฆ่าตัวตายไว้[21] พันธุกรรมมีผลต่อพฤติกรรมการฆ่าตัวตายอยู่ที่ 38% ถึง 55%[22] ทหารผ่านศึกมีความเป็นไปได้ที่จะฆ่าตัวตายมากกว่า เนื่องจากความเจ็บป่วยทางจิตใจ และปัญหาสุขภาพที่มาจากสงคราม[23]

โรคทางจิตใจ

โรคทางจิตใจเกิดขึ้น ณ เวลาที่ฆ่าตัวตายด้วยพิสัยตั้งแต่ 27%[24] จนถึงมากกว่า 90%[16] ในบรรดาคนที่เคยเข้ารับการรักษาทางจิต ความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายสำเร็จในช่วงชีวิตอยู่ที่ประมาณ 8.6%[16] ประชาชนครึ่งหนึ่งที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายอาจเป็นโรคเกี่ยวกับความหดหู่ หากมีโรคทางจิตใจอย่างน้อยหนึ่งชนิด เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว เพิ่มความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายถึง 20 เท่า[25] โรคอื่น ๆ เช่น โรคจิตเภท (14%) ความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ (14%)[26] โรคอารมณ์สองขั้ว[25] และความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ[16] คนที่เป็นโรคจิตเภทราว 5% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย[27] ความผิดปกติเกี่ยวกับการกินเป็นอีกภาวะหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง[28]

ปัญหาการพนัน

ปัญหาการพนันเป็นเหตุให้เกิดความคิดฆ่าตัวตายและความพยายามฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับประชากรทั่วไป[29] นักเล่นพนันระหว่าง 12-24% พยายามฆ่าตัวตาย[30] อัตราการฆ่าตัวตายในสามีภรรยาของพวกเขามีมากกว่าประชากรทั่วไปถึง 3 เท่า[30] ปัจจัยอื่น ๆ ที่เพิ่มความเสี่ยงในนักเล่นพนัน ได้แก่ ความผิดปกติทางจิตใจ แอลกอฮอล์ และการใช้ยา[31]

วิธีการ

อัตราการตายตามวิธีการฆ่าตัวตายในสหรัฐอเมริกา[18]

วิธีการฆ่าตัวตายที่พบมากจะแตกต่างไปตามประเทศต่าง ๆ วิธีการที่พบมากในภูมิภาคต่าง ๆ ได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และการใช้อาวุธปืน[32] ความแตกต่างเหล่านี้ส่วนหนึ่งเชื่อกันว่ามาจากความเป็นไปได้ของแต่ละวิธี[33] จากการทบทวน ประเทศ 56 ประเทศพบว่าการแขวนคอเป็นวิธีการที่พบมากที่สุด[34] คิดเป็นเพศชาย 53% และเพศหญิง 39%[35]

ในทั่วโลก การฆ่าตัวตาย 30% มาจากสารฆ่าสัตว์รังควาน อย่างไรก็ตาม วิธีนี้ในยุโรปผันแปร 4% และในภูมิภาคแปซิฟิกผันแปรมากกว่า 50%[36] วิธีนี้พบได้บ่อยในลาตินอเมริกาเนื่องจากประชากรที่ทำไร่นาเข้าถึงสารดังกล่าวได้ง่าย[33] ในหลายประเทศ การใช้ยาเกินขนาดคิดเป็นราว 60% ของการฆ่าตัวตายในผู้หญิง และ 30% ในผู้ชาย[37] การฆ่าตัวตายจำนวนมากไม่ได้ไตร่ตรองไว้ก่อน และเกิดขึ้นในช่วงเวลาอารมณ์รวนเรฉับพลัน[33] อัตราการตายแตกต่างกันไปตามวิธีการ กล่าวคือ จากอาวุธปืน 80-90% การจมน้ำ 65-80% การแขวนคอ 60-85% ท่อไอเสียรถยนต์ 40-60% การกระโดด 35-60% การรมควันจากถ่านไม้ 40-50% สารฆ่าสัตว์รังควาน 6-75% และการใช้ยาเกินขนาด 1.5-4%[33] อัตราการพยายามฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดต่างจากอัตราความสำเร็จในการฆ่าตัวตาย กล่าวคือ ความพยายาม 85% เป็นการใช้ยาเกินขนาดในประเทศพัฒนาแล้ว[28]

ในประเทศจีน การบริโภคสารฆ่าสัตว์รังควานเป็นวิธีการฆ่าตัวตายที่พบมากที่สุด[38] ในประเทศญี่ปุ่น วิธีการคว้านไส้ตนเองที่เรียกว่า เซ็ปปุกุ หรือฮาราคีรี ยังคงเกิดขึ้นอยู่[38] อย่างไรก็ตาม การแขวนคอพบได้บ่อยที่สุด[39] การกระโดดจนถึงแก่ชีวิตพบมากในฮ่องกงและประเทศสิงคโปร์ ที่อัตรา 50% และ 80% ตามลำดับ[33] ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมีอาวุธปืนอยู่ทั่วไป แต่การฆ่าตัวตายที่พบบ่อยที่สุดคือการแขวนคอ[40] ในสหรัฐอเมริกา การฆ่าตัวตาย 57% เกี่ยวพันกับอาวุธปืน พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง[16] รองลงมาคือการแขวนคอในผู้ชาย และการวางยาพิษตนเองในผู้หญิง[16] วิธีการเหล่านี้รวมกันคิดเป็น 40% ของการฆ่าตัวตายในสหรัฐอเมริกา[41]

อ้างอิง

  1. Paris, J (June 2002). "Chronic suicidality among patients with borderline personality disorder". Psychiatric services (Washington, D.C.). 53 (6): 738–42. doi:10.1176/appi.ps.53.6.738. PMID 12045312.
  2. 2.0 2.1 Hawton K, van Heeringen K (April 2009). "Suicide". Lancet. 373 (9672): 1372–81. doi:10.1016/S0140-6736(09)60372-X. PMID 19376453.
  3. Sakinofsky, I (June 2007). "The current evidence base for the clinical care of suicidal patients: strengths and weaknesses". Canadian Journal of Psychiatry. 52 (6 Suppl 1): 7S–20S. PMID 17824349.
  4. GBD 2013 Mortality and Causes of Death, Collaborators (17 December 2014). "Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013". Lancet. 385: 117–71. doi:10.1016/S0140-6736(14)61682-2. PMID 25530442. {{cite journal}}: |first1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  5. Värnik, P (March 2012). "Suicide in the world". International Journal of Environmental Research and Public Health. 9 (3): 760–71. doi:10.3390/ijerph9030760. PMC 3367275. PMID 22690161.
  6. Meier, Marshall B. Clinard, Robert F. (2008). Sociology of deviant behavior (14th ed.). Belmont, CA: Wadsworth Cengage Learning. p. 169. ISBN 978-0-495-81167-1.
  7. Bertolote JM, Fleischmann A (October 2002). "Suicide and psychiatric diagnosis: a worldwide perspective". World Psychiatry. 1 (3): 181–5. PMC 1489848. PMID 16946849.
  8. "Indian woman commits sati suicide". Bbc.co.uk. 2002-08-07. สืบค้นเมื่อ 2010-08-26.
  9. Aggarwal, N (2009). "Rethinking suicide bombing". Crisis. 30 (2): 94–7. doi:10.1027/0227-5910.30.2.94. PMID 19525169.
  10. Stedman's medical dictionary (28th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. 2006. ISBN 978-0-7817-3390-8.
  11. 11.0 11.1 Krug, Etienne (2002). World Report on Violence and Health (Vol. 1). Genève: World Health Organization. p. 185. ISBN 978-92-4-154561-7.
  12. 12.0 12.1 Gullota, edited by Thomas P.; Bloom, Martin (2002). The encyclopedia of primary prevention and health promotion. New York: Kluwer Academic/Plenum. p. 1112. ISBN 978-0-306-47296-1. {{cite book}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  13. Karch, DL (Aug 26, 2011). "Surveillance for violent deaths—National Violent Death Reporting System, 16 states, 2008". Morbidity and mortality weekly report. Surveillance summaries (Washington, D.C. : 2002). 60 (10): 1–49. PMID 21866088. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  14. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Hawton2012
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Drug2011
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 16.4 16.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ EB2011
  17. Simpson, G; Tate, R (December 2007). "Suicidality in people surviving a traumatic brain injury: prevalence, risk factors and implications for clinical management". Brain injury : [BI]. 21 (13–14): 1335–51. doi:10.1080/02699050701785542. PMID 18066936.
  18. 18.0 18.1 Miller, M; Azrael, D; Barber, C (April 2012). "Suicide mortality in the United States: the importance of attending to method in understanding population-level disparities in the burden of suicide". Annual review of public health. 33: 393–408. doi:10.1146/annurev-publhealth-031811-124636. PMID 22224886.
  19. Qin P, Agerbo E, Mortensen PB (April 2003). "Suicide risk in relation to socioeconomic, demographic, psychiatric, and familial factors: a national register-based study of all suicides in Denmark, 1981–1997". Am J Psychiatry. 160 (4): 765–72. doi:10.1176/appi.ajp.160.4.765. PMID 12668367.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  20. Centers for Disease Control and Prevention, (CDC) (May 3, 2013). "Suicide among adults aged 35-64 years--United States, 1999-2010". MMWR. Morbidity and mortality weekly report. 62 (17): 321–5. PMID 23636024.
  21. Gilliland, Richard K. James, Burl E. (2012-05-08). Crisis intervention strategies (7th ed.). Belmont, CA: Brooks/Cole. p. 215. ISBN 978-1-111-18677-7.
  22. Brent, DA; Melhem, N (June 2008). "Familial transmission of suicidal behavior". The Psychiatric clinics of North America. 31 (2): 157–77. doi:10.1016/j.psc.2008.02.001. PMC 2440417. PMID 18439442.
  23. Rozanov, V; Carli, V (July 2012). "Suicide among war veterans". International journal of environmental research and public health. 9 (7): 2504–19. doi:10.3390/ijerph9072504. PMC 3407917. PMID 22851956.
  24. University of Manchester Centre for Mental Health and Risk. "The National Confidential Inquiry into Suicide and Homicide by People with Mental Illness" (PDF). สืบค้นเมื่อ 25 July 2012.
  25. 25.0 25.1 Chehil, Stan Kutcher, Sonia (2012). Suicide Risk Management A Manual for Health Professionals (2nd ed.). Chicester: John Wiley & Sons. pp. 30–33. ISBN 978-1-119-95311-1.
  26. Bertolote, JM; Fleischmann, A; De Leo, D; Wasserman, D (2004). "Psychiatric diagnoses and suicide: revisiting the evidence". Crisis. 25 (4): 147–55. doi:10.1027/0227-5910.25.4.147. PMID 15580849.
  27. van Os J, Kapur S (August 2009). "Schizophrenia" (PDF). Lancet. 374 (9690): 635–45. doi:10.1016/S0140-6736(09)60995-8. PMID 19700006.
  28. 28.0 28.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Tint2010
  29. Pallanti, Stefano; Rossi, Nicolò Baldini; Hollander, Eric (2006). "11. Pathological Gambling". ใน Hollander, Eric; Stein, Dan J. (บ.ก.). Clinical manual of impulse-control disorders. American Psychiatric Pub. p. 253. ISBN 978-1-58562-136-1.
  30. 30.0 30.1 Oliveira, MP; Silveira, DX; Silva, MT (June 2008). "Pathological gambling and its consequences for public health". Revista de saude publica. 42 (3): 542–9. doi:10.1590/S0034-89102008005000026. PMID 18461253.
  31. Hansen, M; Rossow, I (Jan 17, 2008). "Gambling and suicidal behaviour". Tidsskrift for den Norske laegeforening : tidsskrift for praktisk medicin, ny raekke. 128 (2): 174–6. PMID 18202728.
  32. Ajdacic-Gross V; Weiss MG; Ring M; และคณะ (September 2008). "Methods of suicide: international suicide patterns derived from the WHO mortality database". Bull. World Health Organ. 86 (9): 726–32. doi:10.2471/BLT.07.043489. PMC 2649482. PMID 18797649. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |name-list-format= ถูกละเว้น แนะนำ (|name-list-style=) (help)
  33. 33.0 33.1 33.2 33.3 33.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Yip2012
  34. Ajdacic-Gross, Vladeta, et al. "Methods of suicide: international suicide patterns derived from the WHO mortality database"PDF (267 KB). Bulletin of the World Health Organization 86 (9): 726–732. September 2008. Accessed 2 August 2011. Archived 2 August 2011. See html version. The data can be seen here [1]
  35. O'Connor, Rory C.; Platt, Stephen; Gordon, Jacki, บ.ก. (1 June 2011). International Handbook of Suicide Prevention: Research, Policy and Practice. John Wiley and Sons. p. 34. ISBN 978-1-119-99856-3.
  36. Gunnell D., Eddleston M., Phillips M.R., Konradsen F. (2007). "The global distribution of fatal pesticide self-poisoning: systematic review". BMC Public Health. 7: 357. doi:10.1186/1471-2458-7-357. PMC 2262093. PMID 18154668.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  37. Geddes, John; Price, Jonathan; Gelder, Rebecca McKnight; with Michael; Mayou, Richard (2012-01-05). Psychiatry (4th ed.). Oxford: Oxford University Press. p. 62. ISBN 978-0-19-923396-0.
  38. 38.0 38.1 Krug, Etienne (2002). World Report on Violence and Health, Volume 1. Genève: World Health Organization. p. 196. ISBN 978-92-4-154561-7.
  39. (editor), Diego de Leo (2001). Suicide and euthanasia in older adults : a transcultural journey. Toronto: Hogrefe & Huber. p. 121. ISBN 978-0-88937-251-1. {{cite book}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  40. Eshun, edited by Sussie; Gurung, Regan A.R. (2009). Culture and mental health sociocultural influences, theory, and practice. Chichester, U.K.: Wiley-Blackwell. p. 301. ISBN 978-1-4443-0581-4. {{cite book}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  41. "U.S. Suicide Statistics (2005)". สืบค้นเมื่อ 2008-03-24.

ดูเพิ่ม