แฮโลเพริดอล
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | แฮ-โล-เพ-ริ-ดอล |
ชื่อทางการค้า | Haldol |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a682180 |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | กิน, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 60–70% (กิน)[1] |
การจับกับโปรตีน | ~90%[1] |
การเปลี่ยนแปลงยา | Liver-mediated[1] |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 14–26 ชั่วโมง (ฉีดเข้าหลอดเลือด), 20.7 ชั่วโมง (ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ), 14–37 ชั่วโมง (กิน)[1] |
การขับออก | Biliary (hence in feces) and in urine[1][2] |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.000.142 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C21H23ClFNO2 |
มวลต่อโมล | 375.9 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
แฮโลเพริดอล (Haloperidol) หรือชื่อทางการค้าคือ แฮลดอล (Haldol) เป็นยาระงับอาการทางจิต[3] ใช้ในการรักษาโรคจิตเภท, รักษาอาการทิสท์ในผู้ป่วยโรคทูเร็ตต์, รักษาอาการฟุ้งพล่านในผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้ว, รักษาอาการคลื่นไส้และอาเจียน, รักษาอาการเพ้อ, รักษาภาวะกายใจไม่สงบ, รักษาโรคจิตฉับพลันและอาการประสาทหลอนในผู้ป่วยโรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา[3][4][5] สามารถรับยาได้โดยการกิน ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ[3] โดยทั่วไปจะออกฤทธิภายใน 30-60 นาที[3]
การใช้ยาแฮโลเพริดอลอาจก่อให้เกิดความผิดปกติในการเคลื่อนไหวที่เรียกว่าอาการยึกยือ (Tardive dyskinesia) ซึ่งจะเป็นอย่างถาวร[3] นอกจากนี้ อาจมีเกิดกลุ่มอาการร้ายแรงจากสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท (Neuroleptic malignant syndrome) ได้ด้วยเช่นกัน[3] ทั้งนี้ การใช้ยานี้ในผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมจะเพิ่มความเสี่ยงการเสียชีวิต[3] การใช้ยานี้ในระหว่างตั้งครรภ์อาจก่อปัญหาต่อทารกตามมา[3][6] ผู้ป่วยโรคพาร์คินสันควรงดใช้ยานี้[3]
ยาแฮโลเพริดอลถูกค้นพบในปีค.ศ. 1958 โดยแพทย์ชาวเบลเยียม พอล ยานส์เซน (Paul Janssen)[7] และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Kudo, S; Ishizaki T (December 1999). "Pharmacokinetics of haloperidol: an update". Clinical Pharmacokinetics. 37 (6): 435–56. doi:10.2165/00003088-199937060-00001. PMID 10628896.
- ↑ "Product Information Serenace" (PDF). TGA eBusiness Services. Aspen Pharma Pty Ltd. 29 September 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 March 2017. สืบค้นเมื่อ 29 May 2014.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 "Haloperidol". The American Society of Health-System Pharmacists. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-02. สืบค้นเมื่อ 2 January 2015.
- ↑ Schuckit, MA (27 November 2014). "Recognition and management of withdrawal delirium (delirium tremens)". The New England Journal of Medicine. 371 (22): 2109–13. doi:10.1056/NEJMra1407298. PMID 25427113.
- ↑ Plosker, GL (1 July 2012). "Quetiapine: a pharmacoeconomic review of its use in bipolar disorder". PharmacoEconomics. 30 (7): 611–31. doi:10.2165/11208500-000000000-00000. PMID 22559293.
- ↑ "Prescribing medicines in pregnancy database". Australian Government. 3 March 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 April 2014. สืบค้นเมื่อ 2 January 2015.
- ↑ Sneader, Walter (2005). Drug discovery : a history (Rev. and updated ed.). Chichester: Wiley. p. 124. ISBN 978-0-471-89979-2. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-08.
- ↑ "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2016. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.