ข้ามไปเนื้อหา

เบลซบลู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เบลซบลู
ประเภทต่อสู้
ผู้พัฒนาอาร์คซิสเต็มเวิกส์
ผู้จัดจำหน่ายอาร์คซิสเต็มเวิกส์
แอคซิสเกมส์
พีคิวบ์
เซนยูไนเต็ด(เคย)
เอซทูอินเตอร์แอคทีฟ(เคย)
ผู้จัดสร้างโทชิมิจิ โมริ
ยูกิ คาโต
ระบบปฏิบัติการอาร์เดต
วินโดวส์
เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล
เพลย์สเตชันวิต้า
เพลย์สเตชัน 3
เพลย์สเตชัน 4
เอกซ์บอกซ์ 360
เอกซ์บอกซ์วัน
นินเท็นโด 3ดีเอส
ดีเอสไอแวร์
นินเท็นโด สวิตช์
ไอโอเอส
แอนดรอยด์
วางจำหน่ายครั้งแรกเบลซบลู: คาลามิตีทริกเกอร์
19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[1]
จำหน่ายครั้งล่าสุดเบลซบลู: เซนทรัลฟิคชัน สเปเชียลอิดิชัน
8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
ภาคแยกเอกซ์เบลซ, อนิเมะ, มังงะ, นวนิยาย, และเกมมือถือ

เบลซบลู (ญี่ปุ่น: ブレイブルーโรมาจิBureiBurū; อังกฤษ: ฺBlazBlue) เป็นวิดีโอเกมชุดประเภทต่อสู้สองมิติที่พัฒนาและจัดจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นโดยอาร์คซิสเต็มเวิกส์ ซึ่งต่อมาได้เผยแผร่เป็นภาษาท้องถิ่นในทวีปอเมริกาเหนือโดยแอคซิสเกมส์ และที่ทวีปยุโรปโดยเซนยูไนเต็ด ตัวเกมนั้นได้รับการดัดแปลงเป็นอนิเมะในชื่อ เบลซบลู อัลเทอร์เมมโมรี เริ่มออกอากาศอย่างเป็นทางการที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2556 และในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2555 วิดีโอเกมชุด เบลซบลู ได้ทำยอดขายทั่วโลกมากกว่า 1.7 ล้านชุด[2]

ชื่อ เบลซบลู เป็นคำที่รวมมาจากสามคำ เบรฟ (ผู้กล้า), เบลซ (เปลวไฟ), และ บลู (สีฟ้า) คำเหล่านี้มีความสำคัญกับเนื้อเรื่องของเบลซบลู

เกม

[แก้]

ชุดหลัก

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
  • NA: 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552
  • EU: 2 เมษายน พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2551 – อาร์เดต[3]
พ.ศ. 2552 – เพลย์สเตชัน 3,[3] เอกซ์บอกซ์ 360[3]
พ.ศ. 2553 – เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล,[4] ไมโครซอฟท์ วินโดวส์[3]
หมายเหตุ:



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
  • NA: 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
  • EU: 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2552 – อาร์เดต[7]
พ.ศ. 2553 – เพลย์สเตชัน 3,[7] เอกซ์บอกซ์ 360[7]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
  • NA: 25 มีนาคม พ.ศ. 2557
  • EU: 23 เมษายน พ.ศ. 2557
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2555 – อาร์เดต[8]
พ.ศ. 2556 – เพลย์สเตชัน 3[8]
พ.ศ. 2557 – เพลย์สเตชันวิต้า[8]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
  • NA: 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
  • EU: 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2558 – อาร์เดต[9]
พ.ศ. 2559 – เพลย์สเตชัน 3,[10] เพลย์สเตชัน 4[10]
พ.ศ. 2560 – ไมโครซอฟท์ วินโดวส์[3]
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมแรกของเบลซบลูที่จัดจำหน่ายในตลาดตะวันตกโดยไม่มีพากย์อังกฤษ[11]


ภาคปรับปรุง

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 9 ธันวาคม พ.ศ. 2553
  • NA: 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
  • EU: 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2553 – อาร์เดต[12]
พ.ศ. 2554 – เพลย์สเตชัน 3,[13] เอกซ์บอกซ์ 360[13]
พ.ศ. 2554 – เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล,[12] นินเท็นโด 3ดีเอส[12]
หมายเหตุ:
  • ฉบับเพลย์สเตชัน 3 และ เอกซ์บอกซ์ 360 ของเกม เบลซบลู: คอนตินัมซิฟต์ จะได้รับการอัปเดตเป็น คอนตีนัมซิฟต์ II ฟรีผ่านการดาวน์โหลดแพตช์[13]
  • ฉบับพกพาของเกมไม่สามารถเล่นออนไลน์ได้



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 17 ธันวาคม พ.ศ. 2554
  • NA: 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
  • EU: 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2554 – อาร์เดต[14]
พ.ศ. 2554 – เพลย์สเตชัน 3,[14] เอกซ์บอกซ์ 360,[14] เพลย์สเตชันวิต้า[14]
พ.ศ. 2555 – เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล[14]
พ.ศ. 2557 – ไมโครซอฟท์ วินโดวส์[14]
หมายเหตุ:
  • ฉบับเพลย์สเตชันพอร์เทเบิลวางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้นแต่ไม่สามารถเล่นออนไลน์ได้[15]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 23 เมษายน พ.ศ. 2558
  • NA: 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558
  • EU: 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2557 – อาร์เดต[16]
พ.ศ. 2558 – เพลย์สเตชัน 3,[16] เพลย์สเตชัน 4,[16] เพลย์สเตชันวิต้า,[16] เอกซ์บอกซ์วัน[16]
พ.ศ. 2559 – ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
หมายเหตุ:
  • ในฉบับเกมอาร์เดตจะมีชื่อว่า เบลซบลู: โครโนแฟนทัสมา 2.0
  • ฉบับเพลย์สเตชัน 3 และ เพลย์สเตชัน 4 มีระบบข้ามแพลตฟอร์มซึ่งผู้เล่นจากทั้งสองเครื่องสามารถเล่นด้วยกันได้[ต้องการอ้างอิง]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
  • NA: 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
  • EU: 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2562 – นินเท็นโด สวิตช์
หมายเหตุ:


ภาคแยก

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 27 มกราคม พ.ศ. 2553
  • NA: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2553 – ดีเอสไอแวร์[17]
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมสังเวียนต่อสู้สามมิติ



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 26 ธันวาคม พ.ศ. 2555
  • NA: 21 สิงหาคม พ.ศ. 2557
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2555 – นินเท็นโด 3ดีเอส อีชอป[18]
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมสังเวียนต่อสู้สามมิติ



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
  • NA: 24 มิถุนายน พ.ศ. 2557
  • EU: 18 กันยายน พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2556 – เพลย์สเตชัน 3,[19] เพลย์สเตชันวิต้า[19]
พ.ศ. 2559 – ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
หมายเหตุ:
  • เป็นวิชวลโนเวลที่ตั้งอยู่ 150 ปีก่อนเหตุการณ์ใน คาลามิตีทริกเกอร์


อีตบีต, เดด สไปก์-ซัง

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • ทั่วโลก: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2558 – ไอโอเอส,[20] แอนดรอยด์[20]
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมจับจังหวะ[20]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 9 เมษายน พ.ศ. 2558
  • NA: 11 สิงหาคม พ.ศ. 2558
  • EU: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2558 – เพลย์สเตชัน 3,[21] เพลย์สเตชันวิต้า[21]
พ.ศ. 2559 – ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
หมายเหตุ:
  • ภาคต่อของ เอกซ์เบลซ โค้ด: เอ็มบริโอ


เบลซบลู: แบตเทิลการ์ดส

วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • AU: 30 เมษายน พ.ศ. 2558
  • CAN: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
  • NA: 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2558 – ไอโอเอส[22]
หมายเหตุ:
  • เป็นเกมดวลการ์ดที่มีตัวละครจากแฟรนไชส์ เบลซบลู [22]



วันที่เปิดตัวครั้งแรก:
  • JP: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
  • ทั่วโลก: 5 มิถุนายน พ.ศ. 2561
ปีที่เปิดตัวโดยเครื่องเล่นเกม:
พ.ศ. 2561 – เพลย์สเตชัน 4, นินเท็นโด สวิตช์, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์[23]
พ.ศ. 2562 – อาร์เดต
หมายเหตุ:



Proposed release date:
พ.ศ. 2562
Proposed system release:
พ.ศ. 2562 – ไอโอเอส, แอนดรอยด์[25]
หมายเหตุ:


สื่อ

[แก้]

นวนิยาย

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด
เบลซบลู: เฟส 0

พ.ศ. 2553 – ไลต์โนเวล
หมายเหตุ:
  • เป็นนวนิยายหนึ่งเล่มจบที่เขียนโดยมาโกะ โคมาโอะ และวาดภาพประกอบโดยคาโต้ ยูกิ โดยมีฟูจิมิโชโบเป็นผู้เผยแพร่
  • เป็นเนื้อเรื่องที่ตั้งอยู่ก่อนเหตุการณ์ของ คาลามิตีทริกเกอร์ และจุดเริ่มต้นของบลัดเอดจ์, วีรบุรุษทั้งหก, และเซลิก้า เอ. เมอร์คิวรี


เบลซบลู: เฟสซิฟต์

พ.ศ. 2554 – ไลต์โนเวล
หมายเหตุ:
  • เป็นนวนิยายสี่เล่มจบที่เขียนโดยมาโกะ โคมาโอะ และวาดภาพประกอบโดยคาโต้ ยูกิ โดยมีฟูจิมิโชโบเป็นผู้เผยแพร่
  • นวนิยายเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างมนุษยชาติ และกิลด์เวทมนตร์ของ อิซานะ และ สัตว์ร้ายสีดำ


เบลซบลู: คาลามิตีทริกเกอร์

พ.ศ. 2556 – ไลต์โนเวล
หมายเหตุ:
  • เป็นนวนิยายสองเล่มจบที่เขียนโดยมาโกะ โคมาโอะ และวาดภาพประกอบโดยยูกิ ซูงิยามะ โดยมีฟูจิมิโชโบเป็นผู้เผยแพร่
  • ปรับแต่งเรื่องราวในฉบับนวนิยายของ คาลามิตีทริกเกอร์


เบลซบลู: คอนตินัมซิฟต์

พ.ศ. 2556 – ไลต์โนเวล
หมายเหตุ:
  • เป็นนวนิยายสองเล่มจบที่เขียนโดยมาโกะ โคมาโอะ และวาดภาพประกอบโดยยูกิ ซูงิยามะ โดยมีฟูจิมิโชโบเป็นผู้เผยแพร่
  • ปรับแต่งเรื่องราวในฉบับนวนิยายของ คอนตินัมซิฟต์


เบลซบลู: บลัดเอดจ์เอกซ์พีเรียนซ์

พ.ศ. 2557 – ไลต์โนเวล
หมายเหตุ:
  • เป็นนวนิยายสองเล่มจบที่เขียนโดยมาโกะ โคมาโอะ และวาดภาพประกอบโดยเคียว คุโรอิจิโกะ โดยมีฟูจิมิโชโบเป็นผู้เผยแพร่
  • เป็นนวนิยายบอกเล่าเรื่องราวของ นาโอโตะ คุโรงาเนะ และ ราเควล อาลูคาร์ด


เบลซบลู: สไปรัลซิฟต์

พ.ศ. 2559 – ไลต์โนเวล
หมายเหตุ:
  • เป็นนวนิยายหนึ่งเล่มจบเขียนโดยมาโกะ โคมาโอะ
  • เนื้อเรื่องมุงเน้นไปที่ จิน คิซารากิ ในช่วงสงครามกลางเมืองอิคารุกะ


มังงะ

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด
เบลซบลู ดาบพลังเวท

พ.ศ. 2554 – มังงะ
หมายเหตุ:
  • มังงะสองเล่มจบเขียนบทโดยโทชิมิจิ โมริ และวาดภาพประกอบโดยฮารุโยชิ โคบายาคาวะ เผยแพร่ลงในแฟมิซือคอมมิคเคลียร์ ของบริษัท เอนเตอร์เบรน ที่เป็นบริษัทลูกของคาโดคาวะฟิวเจอร์พับลิชชิง
  • มังงะเรื่องนี้ถูกซื้อลิขสิทธิ์มาแปลเป็นภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์เซนซู[26]
  • เป็นเนื้อเรื่องที่ดัดแปลงมาจาก คาลามิตีทริกเกอร์ และมุงเน้นไปที่ตัวเอก แร็กนาเดอะบลัดเอดจ์


เบลซบลู: ออฟฟิเชียลคอมมิคส์

พ.ศ. 2552 – มังงะ
หมายเหตุ:
  • มังงะสองเล่มจบสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมการจัดจำหน่ายของ คาลามิตีทริกเกอร์ และ คอนตินัมซิฟต์ ในปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 ตามลำดับ


เบลซบลู: รีมิกซ์ฮาร์ต

พ.ศ. 2555 – มังงะ
หมายเหตุ:
  • มังงะสี่เล่มจบที่เขียนบทโดยเดโกะ อากาโอะ และวาดภาพประกอบโดย สุเมรากิ เริ่มตีพิมพ์ลงนิตยสารเอจพรีเมียม ของสำนักพิมพ์ฟูจิมิโชโบ ในปี พ.ศ. 2557
  • เป็นเนื้อเรื่องที่มุงเน้นไปที่ ไม นัตซึเมะ กับชีวิตในมิลิทารีอคาเดมีพร้อมเพื่อน ๆ โนเอล เวอร์มิลเลียน, มาโคโตะ นานายะ, สึบากิ ยาโยอิ, และคาจุน เฟย์คอต


เบลซบลู คัมภีร์เวทสีคราม

พ.ศ. 2556 – มังงะ
หมายเหตุ:
  • มังงะสองเล่มจบที่เขียนบทโดยโทชิมิจิ โมริ และวาดภาพประกอบโดยซากากิ โยชิโอกะ ตีพิมพ์ลงนิตยสารดราก้อนเอจประจำเดือน ของสำนักพิมพ์ฟูจิมิโชโบ
  • เป็นมังงะเรื่องที่สองของเบลซบลูที่ดัดแปลงมาจากเนื้อเรื่อง คาลามิตีทริกเกอร์
  • มังงะเรื่องนี้ถูกซื้อลิขสิทธิ์มาแปลเป็นภาษาไทยโดยสำนักพิมพ์รักพิมพ์[27]


เบลซบลู: แวเรียเบิลฮาร์ต

พ.ศ. 2559 – มังงะ
หมายเหตุ:
  • มังงะสามเล่มจบที่เขียนบทโดยโทชิมิจิ โมริ และวาดภาพประกอบโดยสุเมรากิ เริ่มตีพิมพ์ลงนิตยสารดราก้อนเอจประจำเดือน ของสำนักพิมพ์ฟูจิมิโชโบ ในปี พ.ศ. 2560
  • เป็นภาคต่อของ รีมิกซ์ฮาร์ต


อนิเมะ

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด

พ.ศ. 2556 – อนิเมะ
หมายเหตุ:


อื่น

[แก้]
ชื่อ รายละเอียด
บูรุราจิ

พ.ศ. 2552 – รายการวิทยุออนไลน์
หมายเหตุ:
  • รายการวิทยุอย่างเป็นทางการที่กำลังออกฉายบนนิโกะ นิโกะ โดกะ
  • ชื่อ บูรุราจิ (ぶるらじ) เป็นคำย่อของ "บลูเรดิโอ" ในภาษาญี่ปุ่น
  • จุดประสงค์ก็เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม แฟรน์ไชส์เบลซบลู


ตัวละครที่เล่นได้

[แก้]
ตัวละคร คาลามิตีทริกเกอร์ คอนตินัมซิฟต์ แบตเทิล x แบตเทิล โครโนแฟนทัสมา โคลนแฟนทัสมา เซนทรัลฟิคชัน ครอสแทกแบตเทิล
Amane Nishiki N N N Green tickY N Green tickY N
Arakune Green tickY Green tickY N Green tickY N Green tickY N
Azrael N N N Green tickY N Green tickY Green tickY
Bang Shishigami Green tickY Green tickY N Green tickY Green tickY Green tickY N
Bullet N N N Green tickY N Green tickY N
Carl Clover Green tickY Green tickY N Green tickY N Green tickY N
Celica A. Mercury N N N Green tickY[e] N Green tickY N
Es N N N N N Green tickY[b] Green tickY
Hades Izanami N N N N N Green tickY N
Hakumen Green tickY Green tickY N Green tickY N Green tickY Green tickY[a]1
Hazama N Green tickY N Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY
Hibiki Kohaku N N N N N Green tickY N
Iron Tager Green tickY Green tickY N Green tickY N Green tickY Green tickY
Izayoi N N N Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY[a]1
Jin Kisaragi Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY
Jubei N N N N N Green tickY Green tickY[a]1
Kagura Mutsuki N N N Green tickY[a][b][c][f] N Green tickY N
Kokonoe Mercury N N N Green tickY[a][b][f] N Green tickY N
Lambda -No.11- N Green tickY N Green tickY[e] N Green tickY N
Litchi Faye-Ling Green tickY Green tickY N Green tickY N Green tickY N
Mai Natsume N N N N N Green tickY[b] Green tickY[a]1
Makoto Nanaya N Green tickY[a] N Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY
Mu -No.12- N Green tickY[a][b][c] N Green tickY N Green tickY N
Naoto Kurogane N N N N N Green tickY Green tickY[a]2
Nine the Phantom N N N N N Green tickY Green tickY[a]1
Noel Vermillion Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY
Nu -No.13- Green tickY Green tickY[g] N Green tickY N Green tickY Green tickY
Platinum the Trinity N Green tickY[a] N Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY[a]1
Rachel Alucard Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY
Ragna the Bloodedge Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY
Relius Clover N Green tickY[b][d] N Green tickY N Green tickY N
Susano'o N N N N N Green tickY[b] N
Taokaka Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY Green tickY N
Tsubaki Yayoi N Green tickY N Green tickY N Green tickY N
Valkenhayn R. Hellsing N Green tickY[a] N Green tickY N Green tickY N
Yūki Terumi N N N Green tickY[a][b][f] N Green tickY N
Total 12 20 5 28 10 36 44[h]
Notes
  • a : ตัวละครที่ดาวน์โหลดได้ ในแถว ครอสแทกแบตเทิล จะมีตัวเลขถัดจากหมายเหตุซึ่งจะระบุฤดูกาลที่ตัวละครปรากฏตัวครั้งแรก
  • b : มีเนื้อหาที่อยู่ในเครื่องเล่นเกมเท่านั้น
  • c : สามารถปลดล็อกผ่านการเล่น
  • d : เล่นได้ใน คอนตินัมซิฟต์ เอกซ์เทนด์
  • e : เล่นได้ใน โครโนแฟนทัสมา เอกซ์เทนด์ / โครโนแฟนทัสมา 2.0
  • f : ปรากฏตัวครั้งแรกในเครื่องเล่นเกม / ก่อนรุ่น-2.0 ฉบับอาร์เดตของ โครโนแฟนทัสมา
  • g : ปรากฏตัวในร่าง Lambda -No.11-'s Unlimited form
  • h : รวมตัวละครจาก เพอร์โซนา 4 อารีนา, อันเดอร์ไนต์อิน-เบิร์ธ, RWBY, อาร์คานาฮาร์ต

งานและสินค้า

[แก้]

มีการจัดงานอย่างเป็นทางการสองครั้งที่ประเทศญี่ปุ่นในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2552 และเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ในชื่อ บูรุเฟสซุ 2009: Riot Summer (ญี่ปุ่น: ぶるふぇす 2009 -Riot Summer-) และ บูรุเฟสซุ: Spring Raid (ญี่ปุ่น: ぶるふぇす -Spring Raid-) (ย่อมาจาก "บลูเฟสติวัล") ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีการผลิตสินค้าอื่น ๆ เช่นโปสเตอร์, หนังสือภาพ, เครื่องแต่งกาย, และฟิกเกอร์ ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 อาร์คซิสเต็มเวิกส์ได้ประกาศร่วมมือกับทีมนินจาที่เป็นส่วนหนึ่งของโคอะ เทคโม เพื่อปล่อยชุดแต่งกายของตัวละครจากเกมชุด เบลซบลู และ กิลตีเกียร์ ลงในเกม เดด ออร์ อไลฟ์ 5: ลาสต์ราวด์[28]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "BlazBlue Officially Coming to Consoles: News from 1UP.com". 1Up.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-07. สืบค้นเมื่อ 2013-08-18.
  2. "BlazBlue hits 1.7 million copies sold worldwide". Joystiq. 2012-08-02. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-24. สืบค้นเมื่อ 2014-05-23.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 "BlazBlue: Calamity Trigger". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 14, 2015.
  4. "BlazBlue: Calamity Trigger Portable". GameSpot. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 14, 2015. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  5. "BlazBlue: Calamity Trigger Is On Windows 8 App Store For Like $7". Siliconera. December 21, 2012. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  6. Hannley, Steve (February 13, 2014). "BlazBlue: Calamity Trigger Now Available on Steam". Hardcore Gamer. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  7. 7.0 7.1 7.2 "BlazBlue: Continuum Shift". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  8. 8.0 8.1 8.2 "BlazBlue: Chrono Phantasma". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  9. Barder, Ollie (July 15, 2015). "'BlazBlue Central Fiction' Announced Along With Location Test Details". Forbes. สืบค้นเมื่อ July 18, 2015.
  10. 10.0 10.1 Miscevich, Danny (May 27, 2016). "BlazBlue: Central Fiction Launches this Winter on PS4, PS3". PlayStation.Blog. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
  11. "BlazBlue: CentralFiction Game Will Not Have English Dub - News". Anime News Network. September 1, 2016. สืบค้นเมื่อ December 8, 2017.
  12. 12.0 12.1 12.2 "BlazBlue: Continuum Shift II". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  13. 13.0 13.1 13.2 "BlazBlue: Continuum Shift Patch V1.03 Coming This May". Aksys Games. April 15, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-26. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  14. 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 14.5 "BlazBlue: Continuum Shift Extend". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  15. "BlazBlue: Continuum Shift Extend And BBQ Mode Comes To PSP In May". Siliconera. February 17, 2012. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 16.4 "BlazBlue: Chrono Phantasma Extend Hits North America This Summer". IGN. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.[ลิงก์เสีย]
  17. "BlayzBloo: Super Melee Brawlers Battle Royale". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  18. "BlazBlue: Clonephantasma". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  19. 19.0 19.1 "XBLAZE Code: Embryo". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  20. 20.0 20.1 20.2 MacGregor, Kyle (February 25, 2015). "There's a new BlazBlue rhythm game and it's out now". Destructoid. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ July 18, 2015.
  21. 21.0 21.1 "XBLAZE: Lost Memories". GameSpot. สืบค้นเมื่อ March 26, 2015.
  22. 22.0 22.1 "BlazBlue: Battle Cards". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-02. สืบค้นเมื่อ July 18, 2015.
  23. Yin-Poole, Wesley. "BlazBlue Cross Tag Battle stars characters from Persona and Under Night In-Birth". Eurogamer. สืบค้นเมื่อ 2018-01-23.
  24. Gach, Ethan. "Arc System Works Announces BlazBlue Cross Tag Battle At Evo 2017". kotaku.com. สืบค้นเมื่อ 11 April 2018.
  25. "BLAZBLUE ALTERNATIVE DARKWAR公式サイト". สืบค้นเมื่อ 2015-02-14.
  26. "[News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงการ". comicclubmag. 27 มกราคม 2557. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 สิงหาคม 2562.
  27. "Luckpim กับ ลิขสิทธิ์ใหม่จาก Kadokawa [16 Jul 2015]". bloggang. 16 กรกฎาคม 2558. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 สิงหาคม 2562.
  28. twitter.com/ARCSY_Event/status/830693429004816384

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]