ข้ามไปเนื้อหา

อักษรจักมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรจักมา
Changmha Ajhapat
𑄌𑄋𑄴𑄟𑄳𑄦 𑄃𑄧𑄏𑄛𑄖𑄴
ศัพท์ 'Changmha Ajhapat' ในอักษรจักมา
ชนิด
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาจักมา, ภาษาบาลี[1]
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ISO 15924
ISO 15924Cakm (349), ​Chakma
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Chakma
ช่วงยูนิโคด
U+11100–U+1114F
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับ
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรจักมา (चकमा, Chakma) เป็นอักษรสระประกอบชนิดหนึ่งในตระกูลอักษรพราหมีที่เขียนในแนวนอนจากซ้ายไปขวา ใช้สำหรับเขียนภาษาจักมา ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน ที่ใช้พูดในแถบตะวันตกของบังกลาเทศ และในรัฐมิโซรัมแถบตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย นอกจากนั้นยังถูกใช้เขียนภาษาบาลีด้วย[6]

ประวัติ

[แก้]

อักษรชนิดนี้พัฒนาขึ้นมาจากอักษรพม่า ซึ่งพัฒนาจากอักษรปัลลวะอีกที[7][8][9]

โครงสร้าง

[แก้]
ตัวอักษรจักมา

สระ

[แก้]

อักษรนี้มีรูปสระเดี่ยว 4 อัน: 𑄃 a, 𑄄 i, 𑄅 u, และ 𑄆 e

𑄃 𑄄 𑄅 𑄆
ā (aa) i u e

รูปสระจักมาประสมกับพยัญชนะ 𑄇 ka เป็นไปตามนี้:

𑄇 𑄇𑄧 𑄇𑄨 𑄇𑄩 𑄇𑄪 𑄇𑄫 𑄇𑄬 𑄇𑄮 𑄇𑄭 𑄇𑄯 𑄇𑄰 𑄇𑄀 𑄇𑄁 𑄇𑄂 𑄇𑄴
ka ki ku ke ko kāi kau koi kaṃ kaṃ kaḥ k

พยัญชนะ

[แก้]
𑄇 𑄈 𑄉 𑄊 𑄋 𑄌 𑄍 𑄎 𑄏 𑄐 𑄑
khā ghā ṅā chā jhā ñā ṭā
𑄒 𑄓 𑄔 𑄕 𑄖 𑄗 𑄘 𑄙 𑄚 𑄛 𑄜
ṭhā dhā ṇā thā dhā phā
𑄝 𑄞 𑄟 𑄠 𑄡 𑄢 𑄣 𑄤 𑄥 𑄦
bhā yyā

ตัวเลข

[แก้]

อักษรจักมามีตัวเลขเป็นของตนเอง แม้ว่าบางครั้งจะใช้ตัวเลขเบงกอลด้วย

𑄶 𑄷 𑄸 𑄹 𑄺 𑄻 𑄼 𑄽 𑄾 𑄿
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ยูนิโคด

[แก้]

อักษรจักมาได้ถูกบรรจุไว้ในยูนิโคดตั้งแต่เวอร์ชัน 6.1 ที่ออกเมื่อเดือนมกราคม 2012 ช่วงรหัส U+11100 - U+1114F

Chakma[1][2]
Official Unicode Consortium code chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1110x 𑄀 𑄁 𑄂 𑄃 𑄄 𑄅 𑄆 𑄇 𑄈 𑄉 𑄊 𑄋 𑄌 𑄍 𑄎 𑄏
U+1111x 𑄐 𑄑 𑄒 𑄓 𑄔 𑄕 𑄖 𑄗 𑄘 𑄙 𑄚 𑄛 𑄜 𑄝 𑄞 𑄟
U+1112x 𑄠 𑄡 𑄢 𑄣 𑄤 𑄥 𑄦 𑄧 𑄨 𑄩 𑄪 𑄫 𑄬 𑄭 𑄮 𑄯
U+1113x 𑄰 𑄱 𑄲  𑄳  𑄴 𑄶 𑄷 𑄸 𑄹 𑄺 𑄻 𑄼 𑄽 𑄾 𑄿
U+1114x 𑅀 𑅁 𑅂 𑅃 𑅄 𑅅 𑅆 𑅇
Notes
1.^ ตั้งแต่ยูนิโคดเวอร์ชัน 14.0
2.^ ส่วนสีเทาคือที่ไม่มีการป้อนอักษร

อ้างอิง

[แก้]
  1. https://www.unicode.org/L2/L2019/19143-chakma-letter-vaa.pdf [bare URL PDF]
  2. Handbook of Literacy in Akshara Orthography, R. Malatesha Joshi, Catherine McBride(2019),p.28
  3. Talukdar, S. P. (2010). Genesis of Indigenous Chakma Buddhists and Their Pulverization Worldwide. ISBN 9788178357584.
  4. Mru: Hill People on the Border of Bangladesh. 11 November 2013. ISBN 9783034856942.
  5. http://unicode.org/L2/L2009/09187r-n3645r-chakma.pdf [bare URL PDF]
  6. https://www.unicode.org/L2/L2019/19143-chakma-letter-vaa.pdf [bare URL PDF]
  7. Talukdar, S. P. (2010). Genesis of Indigenous Chakma Buddhists and Their Pulverization Worldwide. ISBN 9788178357584.
  8. Mru: Hill People on the Border of Bangladesh. 11 November 2013. ISBN 9783034856942.
  9. http://unicode.org/L2/L2009/09187r-n3645r-chakma.pdf [bare URL PDF]

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]