องค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
องค์กรแห่งชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก (UNPO)
ธงชาติองค์กรแห่งชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก (UNPO)
ธงชาติ
โลโก้ขององค์กรแห่งชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก (UNPO)
โลโก้
แผนที่แสดงสมาชิก UNPO ทั่วโลก อดีตสมาชิกอยู่ในสีเทาเข้ม
แผนที่แสดงสมาชิก UNPO ทั่วโลก อดีตสมาชิกอยู่ในสีเทาเข้ม
สำนักงานใหญ่บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
สมาชิก44 กลุ่ม[1]
ผู้นำ
• เลขาธิการ[2]
ราล์ฟ เจ. บันชีที่ 3
• ประธาน[2]
นัสเซอร์ โบลาได
• รองประธาน[2]
โดลกุน อีซา
อับดิเราะห์มาน มะห์ดี
สถาปนา11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991
เว็บไซต์
unpo.org แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ

องค์กรแห่งชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก (อังกฤษ: Unrepresented Nations and Peoples Organization; UNPO) เป็นองค์กรระดับนานาชาติ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 [3][4]ที่ กรุงเฮก, เนเธอร์แลนด์ วัตถุประสงค์คือเพื่อเป็นเสียงของชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จักทั่วโลก องค์นี้ไม่ใช่องค์กรที่ไม่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล (non-governmental organisation; NGO) โดยสมาชิกบางส่วนเป็นรัฐฐาลหรือตัวแทนรัฐบาลของรัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง สมาชิกประกอบด้วยชนพื้นเมือง ชนกลุ่มน้อย และรัฐที่ไม่ได้รับการรับรองหรือถูกควบคุมโดยกองทัพ UNPO จะฝึกฝนให้แต่ละกลุ่มแก้ปัญหาของตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ อดีตสมาชิกบางชาติ เช่น อาร์มีเนีย ติมอร์ตะวันออก เอสโตเนีย ลัตเวีย ประเทศจอร์เจีย และปาเลา ได้รับเอกราชโดยสมบูรณ์และเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ [5][6]

สมาชิก[แก้]

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อสมาชิกของ UNPO[7]

สมาชิกเริ่มต้นแสดงด้วย พื้นสีชมพู และ ตัวหนา.

สมาชิก วันที่เข้าร่วม ตัวแทน
อับฮาเซีย อับคาเซีย 6 สิงหาคม 1991 กระทรวงการต่างประเทศแห่งอับคาเซีย
อาเจะฮ์ 15 กรกฎาคม 2014 แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติอาเจะฮ์สุมาตรา
อาฟรีกาเนอร์ 15 พฤษภาคม 2008 แนวร่วมฟรีดอมพลัส
อาหรับอะห์วาซี 14 พฤศจิกายน 2003 พรรคสามัคคีประชาธิปไตยแห่งอัลอะห์วาซ
อัสซีเรีย 6 สิงหาคม 1991 พันธมิตรอัสซีเรียสากล
บาโลชิสถาน 1 มีนาคม 2008 พรรคแห่งชาติบาโลชิสถาน
บาโรตเซแลนด์ 23 พฤศจิกายน 2013
บัตวา 17 มกราคม 1993 ชุมชนชาวพื้นเมืองแห่งรวันดา
ชาวเบลลาห์ 6 มิถุนายน 2017 สมาคมมาเลียนเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมเบลลาห์ (AMASCB-IKEWAN)
เบรอตาญ 8 มิถุนายน 2015 เกลช์ อัล เดียล (Kelc’h An Dael)
ชาเมอเรีย 8 มิถุนายน 2015
รัฐชีน 15 กรกฎาคม 2001 แนวร่วมแห่งชาติชีน
ชนเผ่าแห่งเนินเขาจิตตะกอง 6 สิงหาคม 1991 พรรคสหประชาชนแห่งเนินเขาจิตตะกอง (JSS)
เซอร์คัสเซีย 16 เมษายน 1994 สมาคมเซอร์คัสเซียนานาชาติ
คอร์ดิลเลอรา 11 กุมภาพันธ์ 1991 พันธมิตรประชาชนคอร์ดิลเลอรา
ตาตาร์ไครเมีย 11 กุมภาพันธ์ 1991 เมจลิสแห่งประชาชนตาตาร์ไครเมีย
เดการ์-มอนแตกนาร์ด 14 พฤศจิกายน 2003 มูลนิธิเดการ์-มอนแตกนาร์ด
เขตปกครองพิเศษโคลัมเบีย 4 ธันวาคม 2015 สภาผู้แทนราษฏรแห่งรัฐ D.C.
เตอร์เกสถานตะวันออก 11 กุมภาพันธ์ 1991 สภาอุยกูร์โลก
กิลกิต-บัลติสถาน 20 กันยายน 2008 พันธมิตรประชาธิปไตยกิลกิต-บัลติสถาน
ฮาราติน 18 กันยายน 2011 Initiative de Résurgence du Mouvement Abolitionniste en Mauritanie (IRA)
ม้ง 2 กุมภาพันธ์ 2007 สหพันธรัฐเจ้าฟ้าม้ง
ฮังการี ชนกลุ่มน้อยฮังการีในโรมาเนีย 30 กรกฎาคม 1994 พันธมิตรประชาธิปไตยฮังการีในโรมาเนีย
เคอร์ดิสถานอิหร่าน 2 กุมภาพันธ์ 2007 พรรคประชาธิปไตยเคอร์ดิสถานแห่งอิหร่าน
เคอร์ดิสถานอิรัก 11 กุมภาพันธ์ 1991 พรรคประชาธิปไตยเคอร์ดิสถานแห่งอิรักและสหภาพรักชาติเคอร์ดิสถาน
เติร์กเมนอิรัก 6 สิงหาคม 1991 แนวร่วมเติร์กเมนอิรัก ขบวนการชาตินิยมเติร์กเมน ขบวนการวาฟาเติร์กเมน และแนวร่วมอิสลามเติร์กเมนอิรัก
กาบีเลีย 6 มิถุนายน 2017 ขบวนการเพื่อการกำหนดตนเองแห่งกาบีเลีย (MAK)-Anavad
แขมร์กรอม 15 กรกฎาคม 2001 สหพันธ์เขมรกัมปูเจียกรอม
คอซอวอ สาธารณรัฐคอซอวอ 6 สิงหาคม 1991 พันธมิตรประชาธิปไตยคอซอวอ
ชาวเลซเกียน 7 กรกฎาคม 2012 สหพันธ์แห่งชาติและวัฒนธรรมเลซเกียน
มาปูเช 19 มกราคม 1993 สภาพื้นที่มาปูเช
นาคาแลนด์ 19 มกราคม 1993 สภาสังคมนิยมแห่งชาตินาคาแลนด์
โอกาเดน 6 กุมภาพันธ์ 2010 แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโอกาเดน
ชาวโอโกนี 19 มกราคม 1993 ขบวนการเพื่อความอยู่รอดของชาวโอโกนี
ชาวโอโรโม 19 ธันวาคม 2004 แนวร่วมปลดปล่อยโอโรโม
บัสเตอร์ 2 กุมภาพันธ์ 2007 สภากัปตัน
ซาวอย 15 กรกฎาคม 2014 รัฐบาลแห่งรัฐซาวอย
สินธ์ 19 มกราคม 2002 สถาบันสินธ์โลก
โซมาลีแลนด์ โซมาลิแลนด์ 19 ธันวาคม 2004 รัฐบาลแห่งโซมาลิแลนด์
อาระเบียใต้ 23 พฤษภาคม 2016 สมาคมประชาธิปไตยเพื่อการกำหนดตัวเองแห่งประชาชนอาระเบียใต้
สาธารณรัฐมาลูกูใต้ 6 สิงหาคม 1991 รัฐบาลพลัดถิ่นแห่งสาธารณรัฐมาลูกูใต้
อาเซอร์ไบจานใต้ 2 กุมภาพันธ์ 2007 ขบวนการเพื่อการคื่นตัวแห่งชาติอาเซอร์ไบจานใต้
มองโกเลียใต้ 2 กุมภาพันธ์ 2007 ศูนย์ข้อมูลสิทธิมนุษยชนมองโกเลียใต้ (SMHRIC) (เดิมคือ พรรคประชาชนมองโกเลียใน))
ซูลู 5 มกราคม 2015 มูลนิธิซูลูแห่งชนกลุ่มน้อยเก้าเผ่า
สาธารณรัฐจีน ไต้หวัน 11 กุมภาพันธ์ 1991 มูลนิธิไต้หวันเพื่อประชาธิปไตย
ชาวตาลิช 15 กรกฎาคม 2014 ขบวนการแห่งชาติตาลิช
ทิเบต ทิเบต 11 กุมภาพันธ์ 1991 องค์การบริหารกลางแห่งทิเบต
ไตรเอสเต 28 พฤศจิกายน 2014 TRIEST NGO
ชาวเวนดา 14 พฤศจิกายน 2003 แนวร่วมรักชาติดาบาโลริวูวา
บาโลชิสถานตะวันตก 26 มิถุนายน 2005 พรรคประชาชนบาโลชิสถาน
สาธารณรัฐปาปัวตะวันตก 15 ตุลาคม 2014 ขบวนการปาปัวอิสระ
แซนซิบาร์ 6 สิงหาคม 1991 ทางเลือกประชาธิปไตยแซนซิบาร์ ร่วมมือกับ แนวร่วมสหท้องถิ่น

สมาชิกในอดีต[แก้]

สมาชิกบางส่วนของ UNPO ได้ออกไปเพราะได้รับการรับรองจากสหประชาชาติ บรรลุข้อตกลงในการปกครองตนเอง หรือเหตุผลอื่นๆ สมาชิกในอดีตที่กลายเป็นส่วนหนึ่งของ สหประชาชาติ ถูกเน้นด้วย พื้นสีฟ้า.

ธง วันที่เข้าร่วม วันที่ถอนตัว หมายเหตุ
อาเจะฮ์ 6 สิงหาคม 1991 1 มีนาคม 2008 บรรลุข้อตกลงในการปกครองตนเองกับ อินโดนีเซีย ใน พ.ศ. 2548
ชาวอัลบาเนียในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย 16 เมษายน 1994 1 มีนาคม 2008 บรรลุ ข้อตกลงโอห์ริด กับ สาธารณรัฐมาซิโดเนีย เมื่อ พ.ศ. 2544
ธงของประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 11 กุมภาพันธ์ 1991 2 มีนาคม 1992 เป็นสมาชิกสหประชาชาติใน พ.ศ. 2535
บาสโกร์โตสถาน 3 กุมภาพันธ์ 1996 30 มิถุนายน 1998
ชนเบอร์เบอร์ ที่ประชุมอะมาไซค์โลก
เขตปกครองตนเองบูเกงวิล 6 สิงหาคม 1991 1 มีนาคม 2008 บรรลุข้อตกลงปกครองตนเองกับ ปาปัวนิวกินี ใน พ.ศ. 2543
สาธารณรัฐชูวาเซีย 17 มกราคม 1993 1 มีนาคม 2008
ธงของประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย 11 กุมภาพันธ์ 1991 17 สิงหาคม 1991 เป็นสมาชิกสหประชาชาติใน พ.ศ. 2534
กาเกาเซีย 16 เมษายน 1994 1 ธันวาคม 2007 บรรลุข้อตกลงปกครองตนเองกับ มอลโดวา เมื่อ พ.ศ. 2537 กลับมา 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
 จอร์เจีย 11 กุมภาพันธ์ 1991 31 กรกฎาคม 1992 เป็นสมาชิกสหประชาชาติใน พ.ศ. 2534
อิงกุตเซเตีย 30 กรกฎาคม 1994 1 มีนาคม 2008
คูเมียก 17 เมษายน 1997 1 มีนาคม 2008
ชาวลาโกตา 30 กรกฎาคม 1994 1 ธันวาคม 2007 ประกาศจัดตั้ง สาธารณรัฐลาโกตา
ธงของประเทศลัตเวีย ลัตเวีย 11 กุมภาพันธ์ 1991 17 สิงหาคม 1991 เป็นสมาชิกสหประชาชาติใน พ.ศ. 2534
เมาฮี 30 กรกฎาคม 1994 1 ธันวาคม 2007
นูซัลก์ 23 กันยายน 1998 1 มีนาคม 2008
ธงของประเทศปาเลา ปาเลา 11 กุมภาพันธ์ 1991 15 ธันวาคม 1994 เป็นสมาชิกสหประชาชาติใน พ.ศ. 2537
รูซินส์ 23 กันยายน 1998 1 ธันวาคม 2007
สาธารณรัฐซาฮา 3 สิงหาคม 1993 30 มิถุนายน 1998
สาธารณรัฐปกครองตนเองตาลิช-มูคัน 26 มิถุนายน 2005 1 มีนาคม 2008 Rejoined 15 July 2014
ตาตาร์สถาน 11 กุมภาพันธ์ 1991 1 มีนาคม 2008
ทมืฬอีแลม 11 กุมภาพันธ์ 1991 19 พฤษภาคม 2009 ชาวศรีลังกาชนะใน สงครามกลางเมืองศรีลังกา เมื่อ พ.ศ. 2552
 ติมอร์-เลสเต 17 มกราคม 1993 27 กันยายน 2002 เป็นสมาชิกสหประชาชาติเมื่อ พ.ศ. 2545

อ้างอิง[แก้]

  1. "UNPO Welcomes 5 New Members!". unpo.org. 3 August 2020. สืบค้นเมื่อ 7 August 2020.
  2. 2.0 2.1 2.2 "UNPO Organizational Structure". UNPO. สืบค้นเมื่อ 30 January 2015.
  3. "UNPO World Statesman.org". Worldstatesman. สืบค้นเมื่อ 7 February 2012.
  4. "About UNPO". UNPO. สืบค้นเมื่อ 7 February 2012.
  5. Barbara Crossette, Those Knocking, Unheeded, at UN's Doors Find Champion, New York Times, 18 December 1994.
  6. Tishkov, Valerie, An Anthropology of NGOs เก็บถาวร 2012-02-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Eurozine, July 2008
  7. "Members". UNPO. สืบค้นเมื่อ 27 January 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]