ข้ามไปเนื้อหา

สุนทรียนิยม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
“ห้องนกยูง” ออกแบบโดย เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ซึ่งเป็นตัวอย่างที่มีชื่อเสียงที่สุดของขบวนการสุนทรียนิยมของการออกแบบตกแต่งภายใน

ลัทธิสุนทรียนิยม (อังกฤษ: Aestheticism) คือขบวนการทางปรัชญาของยุโรปของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่เน้นคุณค่าทางความงามที่เหนือกว่าหัวใจของความมีจริยธรรมหรือสังคมที่เกี่ยวข้องกับวรรณกรรม, วิจิตรศิลป์, the ศิลปะตกแต่ง และการออกแบบภายใน[1][2] โดยทั่วไปแล้วลัทธิสุนทรียนิยมเป็นความคิที่ใกล้เคียงกับแนวโน้มของปรัชญาลัทธิสัญลักษณ์นิยม หรือ ขบวนการเริงรมณ์ (Decadent movement) ของฝรั่งเศส หรือ ลัทธิเริงรมณ์ (Decadentismo) ในอิตาลี และอาจจะถือว่าเป็นสาขาเดียวกับขบวนการเดียวกันในอังกฤษ ขบวนความคิดนี้เป็นการกระบวนการคิดที่เป็นปฏิกิริยาต่อคุณค่าทางปรัชญาของสมัยวิคตอเรียที่มีรากฐานมาจากสมัยโรแมนติคสมัยหลัง ซึ่งก็เท่ากับว่าเป็นแนวคิดที่เป็นที่มาของลัทธิสมัยใหม่นิยม ลัทธิสุนทรียนิยมเริ่มขึ้นในตอนปลายของสมัยวิคตอเรียตั้งแต่ราว ค.ศ. 1868 ถึงปี ค.ศ. 1901 และโดยทั่วไปแล้วก็ถือว่ามาสิ้นสุดลงเมื่อมีการพิจารณาคดีของออสคาร์ ไวล์ดในปี ค.ศ. 1895

อ้างอิง

[แก้]
  1. Fargis, Paul (1998). The New York Public Library Desk Reference - 3rd Edition. Macmillan General Reference. p. 261. ISBN 0-02-862169-7.
  2. [Denney, Colleen. "At the Temple of Art: the Grosvenor Gallery, 1877-1890", Issue 1165, p. 38, Fairleigh Dickinson University Press, 2000 ISBN 0838638503

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]