สงครามประกาศอิสรภาพโครเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามประกาศเอกราชโครเอเชีย
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย
วันที่31 มีนาคม 1991 – 12 พฤสจิกายน 1995
สถานที่
ผล โครเอเชียชนะสงคราม
คู่สงคราม

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย (1991-1992)

  • สมัชชาเซอร์เบีย

หลัง 5 เมษายน 1992
สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนา
สาธารณรัฐเซิร์ปสกา
จังหวัดปกครองตนเองบอสเนียตะวันตก

โครเอเชีย สาธารณรัฐโครเอเชีย

  • กองทัพประชาชนโครเอเชีย
  • สมัชชาโครเอเชีย (ในสภายูโกสลาเวีย)
  • รัฐบาลโครเอเชีย
  • กองทัพปลดแอกโครเอเชีย
  • กองกำลังตำรวจโครเอเชีย

สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ปี1995)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Veljko Kadijević (1991-1992)


หลัง 5 เมษายน 1992
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา มิลาน บาบิชยอมจำนน
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา มิลาน มาร์ติชยอมจำนน
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา รัตโก มลาดิช
ฟิกเรต อับดิชยอมจำนน

โครเอเชีย ฟรานโย ตุดมัน
โครเอเชีย อันเต โกโทวีนา
โครเอเชีย กัย์โก ซูชัก


อาลียา อีเซ็ตเบโกวิช
อาตีฟ ดูดาโกวิช

สงครามโครเอเชีย หรือ สงครามประกาศอิสรภาพโครเอเชีย เป็นสงครามที่เกิดขึ้น เมื่อสมัชชาโครเอเชีย ต้องการเอกราชโครเอเชีย โดยมูลเหตุมาจากในที่ประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียดุเดือดสุด ๆ สมัชชาเซอร์เบียและสมัชชาโครเอเชียโต้เถี่ยงกันในสภาโดยสมัชชาเซอร์เบียใช้อำนาจทั้งหมดขัดขวางการขึ้นมีอำนาจของประธานาธิบดียูโกสลาเวียที่มาจากชาวโครแอท ทำให้ทางสมัชชาโครเอเชียจึงเดินออกจากสภาไป ทางสมัชชาจัดการชุมนุมเรียกร้องให้ประชาชนมาชุมนุมซึ่งผลตอบรับค่อนข้างสูง ชาวโครแอทต้องการเอกราชโครเอเชีย ทำให้เกิดการปะทะกับตำรวจและผลลัพธ์จมลงด้วยสงคราม โดย นายทหารยูโกสลาเวียที่เป็นชาวโครแอทได้รวบรวมอาวุธเพื่อประกาศเอกราช ในวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1991 กองทัพยูโกสลาเวีย ยกพลบุกโครเอเชีย แม้จะได้รับการคัดค้านจะสมัชชาบอสเนีย แต่กองพลยูโกสลาเวียก็เคลือนพล ทหาร ประชาชน ชาวโครแอทที่ถูกปราบปราม ขณะที่ชาวเซิร์บในโครเอเชียก็ไก้ประกาศตั้งประเทศ สาธารณรัฐเซิร์บกรายินาซ้อนทับโครเอเชีย

ในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1992 ยูโกสลาเวียล่มสลายเมื่อสมัชชาบอสเนียและสมัชชาเซอร์เบียขัดแย้งแตกคอกัน และจบลงด้วยสงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย กองทัพยูโกสลาเวียที่มาจากเซอร์เบียและบอสเนียจึงล่าถอยกลับประเทศ เหลือไว้กำลังชาวเซิร์บในโครเอเชียซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ซึ่งฝ่ายชาวเซิร์บอ่อนแอลงอ่อนแอลงทุก ๆ วัน เนื่องจากเป็นแค่กองกำลังขนาดเล็ก ๆ ขณะที่โครเอเชีย ขยายและพัฒนากองทัพ

ในช่วงปี ค.ศ. 1995 ทหารบอสเนียได้ยกพลเข้าโครเอเชียเพื่อร่วมต่อสู้กับโครเอเชียเพื่อปราบปรามกองกำลังของสาธารณรัฐเซิร์ปสกาที่มาทำสงครามในโครเอเชีย ทหารบอสเนียสามารถเอาชนะ และยึดครองจังหวัดปกครองตนเองบอสเนียตะวันตกกลับมาเป็นของบอสเนียได้อีกครั้ง รวมถึงปราบปรามกลุ่มกบฎเซิร์บบอสเนียในโครเอเชียได้

จุดจบของสงครามเกิดขึ้น ในวัน 11 พฤศจิกายน สาธารณรัฐเซิร์บกรายินา ยอมจำนน หลังจากที่เนโทโจมตี กลุ่มประเทศชาวเซิร์บไม่ว่าจะเป็น สาธารณรัฐเซอร์เบียกราจีนา , เซอร์เบียและมอนเตเนโกร , เรปูบลิกาเซิร์ปสกา

อ้างอิง[แก้]

  • Video on the Conflict in the Former Yugoslavia from the Dean Peter Krogh Foreign Affairs Digital Archives
  • Information and links on the Third Balkan War (1991–2001)
  • Nation, R. Craig. "War in the Balkans 1991–2002" เก็บถาวร 2009-03-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Radović, Bora, Jugoslovenski ratovi 1991–1999 i neke od njihovih društvenih posledica (PDF) (ภาษาเซอร์เบีย), RS: IAN, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04, สืบค้นเมื่อ 2015-10-02
  • Wiebes, Cees. Intelligence and the War in Bosnia 1992–1995, Publisher: Lit Verlag, 2003
  • Operation Storm ที่ยูทูบ
  • Yugoslav wars ที่เว็บไซต์ Curlie