ข้ามไปเนื้อหา

มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์

ตัวเหรียญตามเหล่าทัพ
กองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ
มอบโดย

ประธานาธิบดีสหรัฐ
อักษรย่อMOH (เอ็มโอเอช) หรือ MH (เอ็มเอช)
ประเภทสายคล้องคอไม่มีดวงดารา
วันสถาปนากองทัพเรือ : 21 ธันวาคม พ.ศ. 2404
กองทัพบก : 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2405
กองทัพอากาศ : 10 สิงหาคม พ.ศ. 2499
หน่วยยามฝั่ง : 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
กองทัพอวกาศ : 1 มกราคม พ.ศ. 2565
ประเทศสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
จำนวนสำรับไม่จำกัด
แพรแถบ
ผู้สมควรได้รับเจ้าหน้าที่ทหารที่มีความกล้าหาญที่โดดเด่น และเสี่ยงชีวิตเกินกว่าหน้าที่
สถานะยังมีการให้อยู่
สถิติการมอบ
รายแรก25 มีนาคม พ.ศ. 2406
รายล่าสุด5 กันยายน พ.ศ. 2566
ทั้งหมด3,525 นาย

มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับทหารที่มีชื่อเสียงเกียรติยศและระดับสูงสุดในสหรัฐอเมริกาซึ่งอาจเป็นการปูนบำเหน็จเพื่อยกย่องแก่ทหารในกองทัพสหรัฐที่มีชื่อเสียงโดดเด่น

พวกเขาเหล่านั้นเองจากการกระทำด้วยความกล้าหาญ[1] เครื่องอิสริยาภรณ์นี้โดยปกติแล้วจะถูกมอบให้โดยประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในนามของรัฐสภาสหรัฐ เพราะเหรียญนี้ได้ถูกนำเสนอ"ในนามสภาคองเกรส" มันมักจะถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "เหรียญเกียรติยศแห่งรัฐสภา"(Congressional Medal of Honor) อย่างไรก็ตาม, ชื่ออย่างเป็นทางการของการปูนบำเหน็จนี้ในปัจจุบันคือ "มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์"[2][3] ภายในรหัสนามของสหรัฐ เหรียญนี้ได้ถูกเรียกว่า "มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์"[4] และไม่บ่อยมากนักคือ"เหรียญเกียรติยศแห่งรัฐสภา"[5] การปูนบำเหน็จของสหรัฐได้รวมถึงมีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ ซึ่งจะไม่มีชื่อที่ระบุเพียงในนาม และไม่มีตัวอักษรย่ออย่างเป็นทางการ ตัวอักษรย่อที่พบได้บ่อยมากที่สุดคือ "MOH" และ "MH"[6]

มีทั้งหมดสามแบบของเหรียญนี้ แต่ละเหรีญนั้นจะมีไว้สำหรับกองทัพบก, กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ[7] บุคคลากรของเหล่านาวิกโยธิน และหน่วยยามฝั่งจะได้รับมอบในแบบของกองทัพเรือ มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ได้ถูกนำเสนอสำหรับกองทัพเรือในปี ค.ศ. 1861 ไม่นานตามมาด้วยในแบบของกองทัพบกในปี ค.ศ. 1862[8] มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์การสู้รบที่เก่าแก่ที่สุดที่ถูกปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่องของกองทัพสหรัฐ[9]

โดยทั่วไปแล้ว ประธานาธิบดีสหรัฐจะเป็นผู้มอบเหรียญนี้ในพิธีอย่างเป็นทางการโดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นการขอบคุณต่อประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา โดยมีการนำเสนอเกี่ยวกับทหารที่ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างดีภายหลังจากเสียชีวิตให้แก่บรรดาญาติพี่น้อง[10][11][12] ตามที่สังคมประวัติศาสตร์มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์แห่งสหรัฐอเมริกา (Medal of Honor Historical Society of the United States) มีมีเดล ออฟ ฮอนเนอร์จำนวน 3,524 เหรียญได้ถูกปูนบำเหน็จแก่บุคคลจำนวน 3,505 คน นับตั้งแต่การก่อตั้งเครื่องอิสริยาภรณ์นี้ กับมากกว่า 40% ของการปูนบำเหน็จสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ในช่วงสงครามกลางเมืองอเมริกา[13]

ในปี ค.ศ. 1990 รัฐสภาได้กำหนดวันที่ 25 มีนาคมเป็นประจำทุก ๆ ปี เป็น"วันเหรียญเกียรติยศแห่งชาติ"[14] นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์และเครื่องอิสริยาภรณ์ทหารที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ทั้งหมดที่ถูกมอบให้แก่สมาชิกทหารของกองทัพโดยไม่ว่าจะอยู่ในประจำการในหน่วยใดเหล่าทัพใดจะได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษภายใต้กฏหมายสหรัฐโดยไม่อนุญาตให้มีการตกแต่ง ซื้อขาย หรือผลิต ซึ่งรวมทั้งแพรแถบย่อหรือสัญลักษณ์ตราที่เกี่ยวข้องด้วย[15]

ภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Department of Defense Manual 1348.33, Volume 1" (PDF). Defense Technical Information Center. p. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-09. สืบค้นเมื่อ 25 February 2017.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations2
  3. DoD Award Manual, Nov. 23, 2010, 1348. 33, P. 31, 8. c. (1) (a) Tucker, Spencer C.; Arnold, James; Wiener, Roberta (2011). The Encyclopedia of North American Indian Wars, 1607–1890: A Political, Social, and Military History. ABC-CLIO. p. 879. ISBN 978-1-85109-697-8. สืบค้นเมื่อ March 14, 2012. The Congressional Medal of Honor Society is so designated because that was the name it was given in an act of Congress that was signed into law by U.S. President Dwight D. Eisenhower on August 5, 1958, as Title 36, Chapter 33 of the U.S. Code (see "The Congressional Medal of Honor Society's History". Official Site. Congressional Medal of Honor Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-11-25. สืบค้นเมื่อ October 1, 2006.). The law authorizing the society has since been transferred to Title 36, Chapter 405 of the U.S. Code. [1]
  4. 10 U.S.C. § 1134a10 U.S.C. § 374110 U.S.C. § 374410 U.S.C. § 374510 U.S.C. § 374710 U.S.C. § 375410 U.S.C. § 375510 U.S.C. § 624110 U.S.C. § 625610 U.S.C. § 625710 U.S.C. § 874110 U.S.C. § 874510 U.S.C. § 874710 U.S.C. § 875514 U.S.C. § 49114 U.S.C. § 50414 U.S.C. § 505
  5. 18 U.S.C. § 70436 U.S.C. § 793
  6. http://www.defense.gov/News/Special-Reports/MOH-Special http://www.cmohs.org/ and "MEDAL OF HONOR (MH)". awards.navy.mil. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-12. สืบค้นเมื่อ 26 August 2016.
  7. "Congressional Medal of Honor Society". สืบค้นเมื่อ 8 October 2013.
  8. "A Brief History – The Medal of Honor". U.S. Department of Defense. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2015.
  9. "Medal of Honor". American Battlefield Trust (ภาษาอังกฤษ). 2018-03-23. สืบค้นเมื่อ 2019-07-11.
  10. "Department of Defense Manual 1348.33, Volume 1" (PDF). Defense Technical Information Center. p. 19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-09. สืบค้นเมื่อ 25 February 2017.
  11. Pullen, John J. (1997). A Shower of Stars: The Medal of Honor and the 27th Maine. Mechanicsburg, PA: Stackpole Books. pp. preface p2. ISBN 978-0811700757. สืบค้นเมื่อ April 15, 2010.
  12. SECNAVINST 1650.1H, P. 2–20, 224.2. Aug. 22, 2006
  13. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ AMOHWStat
  14. Public Law 101-564, Nov. 15, 1990
  15. "18 USC 704 – Sec. 704. Military medals or decorations". Us-code.vlex.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-19. สืบค้นเมื่อ 2012-11-15.