มาริเนอร์ 9

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มาริเนอร์ 9
ตัวยานมาริเนอร์ 9
ประเภทภารกิจโคจรรอบดาวอังคาร
ผู้ดำเนินการNASA / JPL
COSPAR ID1971-051A
SATCAT no.5261
ระยะภารกิจ1 ปี, 4 เดือน, 27 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตJet Propulsion Laboratory
มวลขณะส่งยาน997.9 กิโลกรัม (2,200 ปอนด์)
มวลแห้ง558.8 กิโลกรัม (1,232 ปอนด์)
กำลังไฟฟ้า500 วัตต์
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้นMay 30, 1971, 22:23:04 (1971-05-30UTC22:23:04Z) UTC
จรวดนำส่งAtlas SLV-3C Centaur-D
ฐานส่งCape Canaveral LC-36B
สิ้นสุดภารกิจ
การกำจัดถูกเพิกถอน
ปิดการทำงานแม่แบบ:End-date
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงเอโรเซนทริก
ความเยื้อง0.6014
ระยะใกล้สุด1,650 กิโลเมตร (1,030 ไมล์)
ระยะไกลสุด16,860 กิโลเมตร (10,480 ไมล์)
ความเอียง64.4 องศา
คาบการโคจร719.47 นาที
วันที่ใช้อ้างอิง29 ธันวาคม 2514, 19:00:00 UTC[1]
ยานอวกาศโคจรรอบ ดาวอังคาร
แทรกวงโคจร14 พฤศจิกายน ค.ศ.1971, 00:42:00 UTC
 

มาริเนอร์ 9 (อังกฤษ: Mariner 9 / Mariner Mars '71 / Mariner-I) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาในโครงการมาริเนอร์ที่ช่วยในภารกิจการสำรวจดาวอังคาร ยานออกเดินทางสู่ดาวอังคารเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1971 ที่ฐานทัพอากาศแหลมคาเนเวอรัล สหรัฐอเมริกา เดินทางถึงดาวอังคารเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน นับเป็นยานอวกาศลำแรกที่ไปโคจรรอบดาวเคราะห์ดวงอื่น โดยเอาชนะมาส์ 2 และมาส์ 3 ของโซเวียตไปเพียงเล็กน้อย มาริเนอร์ 9 ใช้เวลาหลายเดือนเพื่อคอยให้พายุฝุ่นบนดาวอังคารสงบลง แล้วจึงส่งภาพอันน่าอัศจรรย์จากดาวอังคารกลับมายังโลกเป็นจำนวนมาก

ตำแหน่งปัจจุบัน[แก้]

ปัจจุบันมาริเนอร์ 9 ยังคงอยู่ในวงโคจรของดาวอังคาร และน่าจะอยู่ไปจนถึงอย่างน้อย ค.ศ. 2022 หลังจากนั้นจึงตกเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของดาวอังคาร

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ M9_trajectory