ภาวะมีโพแทสเซียมในเลือดมากเกิน
หน้าตา
มีโพแทสเซียมในเลือดมากเกิน (Hyperkalemia) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Hyperkalaemia |
ภาพผลตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่พบได้ในผู้ที่มีโพสแทสเซียมในเลือดมากเกิน | |
การออกเสียง | |
สาขาวิชา | เวชบำบัดวิกฤติ, วักกะวิทยา |
อาการ | ใจสั่น, ปวดกล้ามเนื้อ, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, เหน็บชา[1][2] |
ภาวะแทรกซ้อน | หัวใจหยุดเต้น[1][3] |
สาเหตุ | ไตวาย, hypoaldosteronism, กล้ามเนื้อลายสลาย, ยาบางชนิด[1] |
วิธีวินิจฉัย | Blood potassium > 5.5 mmol/L, electrocardiogram[3][4] |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | Pseudohyperkalemia[1][2] |
การรักษา | Medications, low potassium diet, hemodialysis[1] |
ยา | Calcium gluconate, dextrose with insulin, salbutamol, sodium bicarbonate[1][3][5] |
ความชุก | ~2% (people in hospital)[2] |
ภาวะมีโพแทสเซียมในเลือดมากเกิน (อังกฤษ: hyperkalemia) คือภาวะที่ในเลือดมีระดับของโพแทสเซียมไอออน (K+) มากกว่าปกติ ค่าปกติของระดับโพแทสเซียมในเลือดจะอยู่ระหว่าง 3.5 ถึง 5.0 mmol/L (มิลลิโมลต่อลิตร) (3.5 ถึง 5.0 mEq/L) หากเพิ่มสูงขึ้นเกินกว่า 5.5 mmol/L จะถือว่าเข้าได้กับนิยามของภาวะมีโพแทสเซียมในเลือดมากเกิน[3][4] ผู้มีภาวะนี้ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ[1] แต่หากเป็นรุนแรงอาจพบว่ามีอาการใจสั่น ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือชาได้[1][2] นอกจากนี้ยังอาจเป็นสาเหตุของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะหัวใจหยุดเต้นและเสียชีวิตได้[1][3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อLeh2011
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBMJ2015
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อEU2010
- ↑ 4.0 4.1 Pathy MJ (2006). "Appendix 1: Conversion of SI Units to Standard Units". Principles and practice of geriatric medicine. Vol. 2 (4th ed.). Chichester [u.a.]: Wiley. p. Appendix. doi:10.1002/047009057X.app01. ISBN 9780470090558.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSm2005
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |