ภาคจิตตะกอง
หน้าตา
ภาคจิตตะกอง চট্টগ্রাম বিভাগ | |
---|---|
ที่ตั้งภาคจิตตะกองในประเทศบังกลาเทศ | |
พิกัด: 22°55′N 91°30′E / 22.917°N 91.500°E | |
ประเทศ | บังกลาเทศ |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2372 |
เมืองหลัก | จิตตะกอง |
การปกครอง | |
• ข้าหลวง | มุฮัมมัด อามีนูร์ เราะห์มาน[1] |
• เขตเลือกตั้งรัฐสภา | รัฐสภาแห่งชาติ (58 ที่นั่ง) |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 34,529.97 ตร.กม. (13,332.10 ตร.ไมล์) |
ประชากร (พ.ศ. 2565)[2] | |
• ทั้งหมด | 33,202,326 คน |
• ความหนาแน่น | 960 คน/ตร.กม. (2,500 คน/ตร.ไมล์) |
เขตเวลา | UTC+6 (เวลามาตรฐานบังกลาเทศ) |
รหัส ISO 3166 | BD-B |
เอชดีไอ (พ.ศ. 2561) | 0.611[3] ปานกลาง |
ทีมคริกเกตที่มีชื่อเสียง | ทีมคริกเกตภาคจิตตะกอง จิตตะกองแชลลินเจอส์ จิตตะกองอาบาฮานี |
เว็บไซต์ | www |
จิตตะกอง (อังกฤษ: Chittagong) หรือ จัฏฏคราม (เบงกอล: চট্টগ্রাম) เป็นภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาภาคทั้งแปดของประเทศบังกลาเทศ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้สุดของประเทศ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 33,909.00 ตารางกิโลเมตร (13,092.34 ตารางไมล์)[4] และมีประชากร 33,202,326 คนจากสำมะโนประชากร พ.ศ. 2565
ภาคจิตตะกองเป็นที่ตั้งของค็อกซิสบาซาร์ ชายหาดทะเลธรรมชาติที่ยาวที่สุดในโลก[5][6] รวมทั้งเป็นที่ตั้งของเกาะเซนต์มาร์ตินส์ พืดหินปะการังเพียงแห่งเดียวของบังกลาเทศ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "List of Divisional Commissioners". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-18. สืบค้นเมื่อ 2023-02-23.
- ↑ http://bbs.portal.gov.bd/sites/default/files/files/bbs.portal.gov.bd/page/b343a8b4_956b_45ca_872f_4cf9b2f1a6e0/2022-07-28-14-31-b21f81d1c15171f1770c661020381666.pdf
- ↑ "Sub-national HDI - Area Database - Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-07-08.
- ↑ Ahmed Anam (2012). "Chittagong Division". ใน Islam, Sirajul; Miah, Sajahan; Khanam, Mahfuza; Ahmed, Sabbir (บ.ก.). Banglapedia: the National Encyclopedia of Bangladesh (Online ed.). Dhaka, Bangladesh: Banglapedia Trust, Asiatic Society of Bangladesh. ISBN 984-32-0576-6. OCLC 52727562. สืบค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2024.
- ↑ Ethirajan, Anbarasan (26 December 2012). "Bangladesh's Cox's Bazar: A paradise being lost?". BBC World. สืบค้นเมื่อ 29 January 2015.
- ↑ The Europa World Year Book 2003. Taylor & Francis. 2003. p. 679. ISBN 978-1-85743-227-5.